ทิศทางการพัฒนาวิชาการเวชศาสตร์ครอบครัวในประเทศไทย

Main Article Content

Sairat Noknoy

บทคัดย่อ

เวชศาสตร์ครอบครัว เป็นศาสตร์ของการดูแลผู้ป่วยที่ครอบคลุม เป็นองค์รวม มีพัฒนาการมาจากการทำงานของแพทย์และทีมสุขภาพในบริบทของการดูแลสุขภาพปฐมภูมิ  นับแต่มีการฝึกอบรมแพทย์เวชศสตร์ครอบครัว ใน ปี พ.ศ. 2542 แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวได้ทำงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพให้การให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ  เกิดรูปแบบการจัดบริการที่เป็นรูปธรรม อย่างไรก็ตามยังมีข้อมูลถึงผลลัพธ์ที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ยังมีอยู่จำกัด  


การสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการเพื่อสะท้อนคุณค่าของงานเวชศาสตร์ครอบครัวและการดูแลสุขภาพมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งการดำเนินงานต้องอาศัยกลไกในการสร้างเครือข่ายการดำเนินงานที่เชื่อมต่อการทำงานร่วมกันระหว่าง อาจารย์ในมหาวิทยาลัยที่มีศัยกภาพในการวิจัย กับ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวที่ทำงานในพื้นที่ ให้ได้มีกระบวนการทำงานร่วมกันในการวางแผนศึกษาวิจัย สังเคราะห์ความรู้จากบริบทการทำงานในพื้นที่ เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านเวชศาสตร์ครอบครัวที่เกิดจากฐานการทำงานการดูแลสุขภาพปฐมภูมิอย่างแท้จริง นอกจากนี้แล้วจำเป็นต้องมีกระบวนที่สนับสนุนการเรียนรู้ต่อเนื่องสำหรับแพทย์และทีมสหวิชาชีพ พร้อมทั้งการส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างวิชาชีพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ต่อยอดจากบริบทของการทำงานจริง รวมทั้งวิชาการจะต้องถูกเชื่อมโยงสื่อสารไปถึงผู้กำหนดนโยบายและทีมสุขภาพปฐมภูมิเพื่อที่จะได้เกิดการชยายผลใช้ประโยชน์ในวงกว้าง

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความพิเศษ

References

Geoffrey Rivett. The history of NHS. [Internet]. Nuffield Trust. [cited 2022 May 29]. Available from: https://www.nuffieldtrust.org.uk/health-and-social-care-explained/the-history-of-the-nhs

Scheingold L. A Balint Seminar in Family Practice Residency Setting. Journal of Family Practice 1980; 10(2): 267-270.

Rakel RE, Rakel DP. Textbook of Family Medicine. 8th ed. Philadelphia: Elsevier; 2011.

สายพิณ หัตถึรัตน์. เวชศาสตร์ครอบครัวแนวคิดและประสบการณ์ในบริบทไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด; 2553.

McWhinney, I, Freeman, T. Textbook of Family Medicine. 3rd ed. New York: Oxford University Press; 2009.

Stange KC. The problem of fragmentation and the need for integrative solutions. Ann Fam Med. 2009 Mar-Apr;7(2):100-3. doi: 10.1370/afm.971. PMID: 19273863; PMCID: PMC2653966.

ยงยุทธ พงษ์สุภาพ. ยกปฐมภูมิออกนอกโรงพยาบาลจุดคานงัดการพัฒนาบริการปฐมภูมิในประเทศไทย[อินเทอร์เน็ต]. โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบบริกาสาธารณสุข. 2550; [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://somed1.tripod.com/1177.pdf

Williams RL, Henley E, PrueksaritanondS, Aramrattana A. Family practice in Thailand: will it work? J Am Board Fam Pract 2002;15: 73–76.

สิรินาฎ ศิริสุนทร, สิริชัย นามทรรศนีย์. สมการ “ทุกข์-สุข” ยามชรา [อินเทอร์เน็ต]..พิมพ์ครั้งที่ 1: กรุงเทพ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.); 2554. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.scribd.com/document/335102687/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%82-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B8%B2

วรเชษฐ เขียวจันทร์, มูหาหมัดอาลี กระโด. คนปฐมภูมิหัวใจเพชร = Primary we care. กรุงเทพฯ : ปิ่นโต พับลิชชิ่ง, 2560.

Kassai R, van Weel C, Flegg K, Tong SF, Han TM, Noknoy S, Dashtseren M, Le An P, Ng CJ, Khoo EM, Noh KM, Lee MC, Howe A, Goodyear-Smith F. Priorities for primary health care policy implementation: recommendations from the combined experience of six countries in the Asia-Pacific. Aust J Prim Health. 2020 Oct;26(5):351-357. doi: 10.1071/PY19194. PMID: 32746962

ราชกิจจานุเบกษา.พระราชบัญญํติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://doh.hpc.go.th/data/HL/PCC_Act62.pdf

van Weel C. Primary health care and family medicine at the core of health care: challenges and priorities in how to further strengthen their potential. Front Med (Lausanne). 2014; 1: 37. doi:10.3389/fmed.2014.00037

ชัยสิริ อังกุระวรานนท์, พัชรินทร์ ปิงเมืองแก้ว, อภิชัย วรรธนะพิศิษฐ์. Research Framework in Family Medicine and Application. National Conference of Family Medicine 2019. 27-29 พฤศจิกายน 2562. โรงแรม Almeroz กรุงเทพ.

ภูมิพงศ์ ศรีภา. ทิศทางแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวกับระบบสุขภาพของประเทศไทย. วารสารวิขาการสาธารณสุข. 2562; 28(1): 175-184

Rouleau K, Bourget M, Chege P, et al. Strengthening Primary Care Through Family Medicine Around the World: Collaborating Toward Promising Practices. Fam Med. 2018;50(6):426-436. https://doi.org/10.22454/FamMed.2018.210965.

Haq C, Ventres W, Hunt V, Mull D, et al. Family Practice around the world. Family Practice 1996: 13(4): 351-356.

ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/A/114/48.PDF