ทิศทางการพัฒนาเวชศาสตร์ครอบครัวและการดูแลสุขภาพปฐมภูมิ : ตอนที่ 1 เข้าใจที่มาผ่านประวัติศาสตร์

Main Article Content

Sairat Noknoy

บทคัดย่อ

เวชศาสตร์ครอบครัวและการดูแลสุขภาพปฐมภูมิจะพัฒนาไปในทิศทางใด ต้องเข้าใจ ที่มาความจำเป็น ของสองส่วนนี้อย่างลึกซึ้ง การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ที่สำคัญ บทความนี้เป็นการทบทวนวรรณกรรม เพื่อศึกษาที่มาของพัฒนาการเวชศาสตร์ครอบครัวและการดูแลสุขภาพปฐมภูมิซึ่งเกิดขึ้นควบคู่กันก่อนคำประกาศอัลมา อตา ปี พ.ศ.2521 ที่เรียกร้องให้พัฒนาการดูแลสุขภาพปฐมภูมิ ให้ความสำคัญกับการดูแลที่ครอบคลุมลดปัญหาความเหลื่อมล้ำ ติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 40 ปีต่อมา ทบทวนวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของการพัฒนา ที่ต่างกันไปในแต่ละบริบท และการออกคำประกาศแอสทานาในปี พ.ศ. 2561
การพัฒนาการแพทย์บนฐานวิทยาศาสตร์ ทำให้การแพทย์มีความก้าวหน้าลงลึกพัฒนาเป็นสาขาเฉพาะทาง วิชาเวชศาสตร์ครอบครัวเกิดขึ้นจากข้อค้นพบของการทำงานในบริบทปฐมภูมิที่มีการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีมสุขภาพเพื่อให้การดูแลสุขภาพที่ครอบคลุม บูรณาการเป็นองค์รวม ที่ต้องอาศัยเนื้อหาความรู้และทักษะต่างไปจากบริบทของโรงพยาบาล หลังคำประกาศอัลมา อตา ประเทศไทยได้มีการพัฒนาการสาธารณสุขและระบบสุขภาพชุมชนมาอย่างเข้มแข็ง ทั้งนี้การพัฒนาต่อไปในอนาคตจำเป็นต้อง สนับสนุนการศึกษาวิจัยและการเรียนรู้ร่วมกันของทีมสุขภาพในการพัฒนาการจัดบริการปฐมภูมิและสร้างการมีส่วนร่วม
ของทุกภาคส่วนเพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างคุณค่าของระบบสุขภาพปฐมภูมิอย่างยั่งยืน

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความปริทัศน์

References

Flexner A. Medical Education in the United States and Canada. A report to the Carnegie Foundation for the advancement of teaching. Bulletin Number four [Internet]. 1910. [cited 2022 May 22]. Available from: http://archive.carnegiefoundation.org/publications/pdfs/elibrary/Carnegie_Flexner_Report.pdf.

McWhinney I, Freeman T. Textbook of family medicine. 3rd ed. New York: Oxford University Press; 2009.

Duffy TP. The Flexner Report--100 years later. Yale J Biol Med. 2011;84:269-76.

Gutierrez C, Scheid P. The history of family medicine and its impact in US health care delivery. [Internet]; University of California San Diego, Department of Family and Preventive Medicine. [cited 2022 May 22]. Available from: https://www.aafpfoundation. org/content/dam/foundation/documents/whowe-are/cfhm/FMImpactGutierrezScheid.pdf.

Millis JS. The graduate education of physicians. The Report of the citizen commission on graduate medical education [Internet]; Chicago: Council on Medical Education American Association; 1966. [cited 2022 May 22]. Available from: https://www.aafpfoundation.org/content/dam/foundation/doc- uments/who-we are/cfhm/classicsfamilymedicine/GraduateEducationofPhysicians.pdf.

Cogswell B, Sussman B. Family Medicine, a new ap- proach to health care (Marriage & family review, ISSN 0149-4929; v.4, no.1/2). New York: Routledge [Internet].; 2013. [cited 2022 May 22]. Available from: https://books.google.co.th/books?id=6R0iA

wAAQBAJ&pg=PA114&lpg=PA114&dq=millis+report+1966+and+willard+report+1966&source=bl&o

Journal of Primary Car and Family Medicine 2021;5(3):0-0.ts=Ye0dvLsQ-X&sig=ACfU3U14mq0LHEXkETMId- itxZZQHeuc_Qw&hl=en&sa=X&ved=2ahUKEwjsqNKcyIH4AhV9SGwGHegoAZgQ6AF6BAgZEAM#v=one

page&q=millis%20report%201966%20and%20wil- lard%20report%201966&f=false.

Folsom Group. Communities of solution: the Fol- som Report revisited [published correction appears in Ann Fam Med. 2012 Jul-Aug;10(4):365]. Ann Fam Med. 2012;10:250-60. doi:10.1370/afm.1350

Geoffrey Rivett. The history of NHS. [Internet]. Nuf- field Trust. [cited 2022 May 29]. Available from:

https://www.nuffieldtrust.org.uk/health-and-socialcare-explained/the-history-of-the-nhs.

Scheingold L. A Balint Seminar in Family Practice Residency Setting. Journal of Family Practice 1980; 10:267-70.

Goodwin N, Dixon A, Poole T, Raleigh V. Improving the quality of care in general practice: Report of an

independent inquiry commissioned by The King’s Fund [Internet]. London: The King’s Fund; 2011 [cited 2022 May 28]. Available from: https://www.kingsfund.org.uk/sites/default/files/improving-qual- ity-of-care-general-practice-independent-inquiryreport-kings-fund-march-2011_0.pdf.

Royal College of General Practitioners. The future general practitioner—learning and teaching. J R Coll Gen Pract. 1972;22(122):581-2. [cited 2022 May 28]. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2156233/pdf/jroyalcgprac00249-0013.pdf.

Neasham J. General practice observed. Br Med J. 1972;4(5834):237-8.

WONCA council. The World Organization of National Colleges Academies and Academic Associations of General Practitioners/Family Physicians Bylaws. 2021. [cited 2022 May 28]. Available from: https://www.globalfamilydoctor.com/site/DefaultSite/filesystem/documents/aboutWonca/Bylaws%20

November%202021%20[FINAL].pdf.

World Health Organization. Report of the Interna- tional Conference on Primary Health Care, AlmaAta, USSR[Internet]. Geneva: World Health Organi- zation and United Nation Childrens Fund; 1978. [cited 2022 May 28]. Available from: https://www.unicef.org/media/85611/file/Alma-Ata-conference1978-report.pdf.

สุพัตรา ศรีวณิชชากร. สาธารณสุขมูลฐาน ระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว นิยาม ความหมาย และความเชื่อมโยง.วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว. 2552;1:11-15.

Meir BM, Suenik M, Dhat R, Gostin LO. Alma-Ata at 40: A milestone in the evolution of the right to health and enduring legacy for human rights in global health. Health and Human Rights jour- nal [Internet]. 2008. [cited 2022 June 11]. Available

from: Availhttps://www.hhrjournal.org/2018/09/al- ma-ata-at-40-a-milestone-in-the-evolution-of-theright-to-health-and-an-enduring-legacy-for-humanrights-in-global-health/.

Gillam S. Is the declaration of Alma Ata still relevant to primary health care? BMJ. 2008;336(7643):536-8. doi:10.1136/bmj.39469.432118.AD.

Rifkin SB. Alma Ata after 40 years: Primary Health Care and Health for All-from consensus to com- plexity. BMJ Glob Health. 2018;3(Suppl 3): e001188. doi:10.1136/bmjgh-2018-001188.

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์,พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข. ทิศทางสาธารณสุข มูลฐานในทศวรรษที่สี่ของประเทศไทย. [อินเทอร์เน็ต].

นนทบุรี: สำนักพิมพ์วันดีคืนดี; 2552. [เข้าถึงเมื่อ 29 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://kb.hsri.or.th/dspace/bitstream/handle/11228/2320/hs1546.pdf?sequence=3&isAllowed=y.

กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. วิวัฒนาการ การสาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทย

(พ.ศ. 2521 - พ.ศ. 2557). [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2557. [เข้าถึงเมื่อ 29

พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://phc.moph.go.th/www_hss/data_center/ifm_mod/nw/phcthai.pdf.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. สาธารณสุขมูลฐาน บริการปฐมภูมิ กับสุขภาพชุมชน บทเรียน ความท้าทายและบริบทใหม่ของงานสุขภาพภาคประชาชน. [อินเทอร์เน็ต]. งานมหกรรมสุขภาพชุมชน 2552. 2552. [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://kb.hsri.or.th/dspace/bitstream/

handle/11228/2837/policy%20paper_Komatra.pdf?sequence=2&isAllowed=y.

Alliance of Health Policy and System Research SCI. World Health Organization. Primary health care systems (PRIMASYS): case study from Thailand. Geneva: World Health Organization; 2017. Licence: CC BY-NC-SA 3.0 IGO. [Internet]. [cited 2022 May 22].

Available from: https://apo.who.int/publications/i/item/primasys-abridged-case-study-from-thailand- World.

World Health Organization. Country case studies on primary health care: Thailand: the development of primary health care. [Internet]. 2018 [cited 2022 May 28]. Available from: World Health Organization. 2018). https://apps.who.int/iris/handle/10665/326246. License: CC BY-NC-SA 3.0 IGO.

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. รายงานสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 2542-2544. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://kb.hsri.or.th/dspace/bitstream/handle/11228/2662/hsri-annu- al-2542-2544.pdf?sequence=2.

Kachondham, Y, Chunharas, S. At the crossroads: challenges for Thailand’s health development.

Health Policy and Planning 1993;8:208-216. https://doi.org/10.1093/heapol/8.3.208.

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. เส้นทางสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.nhso.go.th/page/history.

ยงยุทธ พงษ์สุภาพ. ยกปฐมภูมิออกนอกโรงพยาบาลจุดคานงัดการพัฒนาบริการปฐมภูมิในประเทศไทย. [อินเทอร์เน็ต]. โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข. 2550. [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://somed1.tripod.com/1177.pdf.

Pongsupap, Y. People Centred Primary Care. The Case of a demonstration health center in Thailand. [Internet]. 2001; European Union Fund. [Internet]. [cited 2022 May 4]. Available from: https://eng.

nhso.go.th/assets/portals/1/files/HealthCareRe- form/HCRP%20Demonstraion%20HC%20Ayut- thaya%20Project.pdf.

Health Care Reform Office, Ministry of Public Health. Thailand’s Health Care Reform Project, 1996-2001,

final report. [Internet]. 2001. European Union Fund. [cited 2022 May 4]. Available from: https://eng. nhso.go.th/assets/portals/1/files/HealthCareReform/HCRP%20%20Phase1%20Final%20Report.pdf.

สุพัตรา ศรีวณิชชากร, สมจิต พฤกษริตานนท์. 20 ปี เวชศาสตร์ครอบครัวไทย. [อินเทอร์เน็ต]. จดหมายข่าว. สมาคมแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป/เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. 2562. [เข้าถึงเมื่อ 29 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://thaigpfm.org/%E0%B8%88%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%-

A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/20-%E0%B8%

B%E0%B8%B5-%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%

E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%

C%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%84/

Williams RL, Henley E, PrueksaritanondS, Aramrattana A. Family practice in Thailand: will it work? J Am Board Fam Pract 2002;15:73-6.

บทที่ 11 การปฏิรูประบบสุขภาพและการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ. ใน: สุวิทย์ วิบูลผลประเสริฐ, การสาธารณสุขไทย 2544-2547.[อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. สำนักนโยบายและยุทธศษสตร์ กระทรวงสาธารณสุข. [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2565]. เข้าถึง

ได้จาก: https://hss.moph.go.th/fileupload_doc_slid- er/2016-12-13--479.pdf.

ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/A/114/48.PDF.

พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก:

http://nih.dmsc.moph.go.th/law/pdf/031.pdf.

สำเริง แหยงกระโทก. การดำเนินงานตามมาตรฐานหน่วยบริการปฐมภูมิ(Primary Care Unit = PCU) [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://med- info2.psu.ac.th/commed/activity/year2/a10pcu.pdf.

สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ. การบริหารจัดการเครือข่ายหน่วย บริการสุขภาพปฐมภูมิ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: นโม พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิ่ง; 2550. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://kb.hsri.or.th/dspace/bitstream/handle/11228/2537/hs1569.pdf?sequence=3&isAllowed=y.

สำนักสนับสนุนคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการ. สำนักหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. แนวทางการตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ 2559. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://kpo.moph.go.th/webkpo/Manual-kpsj/Self-assessment.pdf.

สุรินทร์ กู้เจริญประสิทธ์, พรเทพ ศิริวนารังสรรค์. การจัด ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง กรณีศึกษาพื้นี่กรุงเทพมหานคร 2560. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประทเศไทย. 2561;8:182-90.

สุพัตรา ศีวณิชชากร, ทัศนี ญาณะ, บำรุง ชะลอเดช, พฤกษา บุกบุญ. สถานการณ์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ.ศ.2547-2558. [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง; 2558. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://thaiichr.org/wp-content/

uploads/2019/01/20190107_090737.pdf.

สุพัตรา ศีวณิชชากร, ทัศนี ญาณะ. การพัฒนาระบบสุขภาพ ปฐมภูมิกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับวิกฤต (เอกสารสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร) [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: เอกสารหลัก-BHA64 - มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (thaiichr.

com).

ยงยุทธ พงษ์สุภาพ. การจัดการรียนเพื่อเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System Management Learning: DHML): สมุทรสาคร. APPA Printing Group; 2557.

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. มาตรฐานคุณวุฒิความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (มคว. 1) สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว พ.ศ. 2562. [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพ: รักษ์การพิมพ์(ประเทศไทย)จำกัด; 2562 [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก:

https://drive.google.com/file/d/1XbH5AIumAelD-OPiq5dVnNopxx-hzEUe/view.

สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. คู่มือแนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) ปี 2563. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.mdo.moph.go.th/computer/web51v2/nhso_star63.pdf.

สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2559.

นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์, ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, อาทิตยา วังวนสินธุ์, บัวพลอย พรมแจ้ง. การพัฒนาระบบสุขภาพอำ เภอของไทย. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2562;12:1-5.

ราชกิจจานุเบกษา. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการ พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ. 2561. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/054/1.PDF.

ราชกิจจานุเบกษา.พระราชบัญญํติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://doh.hpc.go.th/data/HL/PCC_Act62.pdf.

Noknoy S. Capture data of model of success: Thai- land. Plenary Session: Research, Scaling-up Re- gional Comparative Studies on Countries’ Health System & Primary Care Status. WONCA Asia Pacific Regional Conference, Kyoto Japan, May 17, 2019. [Internet]. 2018 [cited 2022 May 28]. Available from: Capture data of model of success: Thailand (thaifammed.org).

Kassai R, van Weel C, Flegg K, Tong SF, Han TM, Noknoy S, Dashtseren M, Le An P, Ng CJ, Khoo EM, Noh KM, Lee MC, Howe A, Goodyear-Smith F. Priorities for primary health care policy implementation: recommendations from the combined experience of six countries in the Asia-Pacific. Aust J Prim Health. 2020;26:351-7. doi: 10.1071/PY19194. PMID: 32746962.

สิรินาฎ ศิริสุนทร, สิริชัย นามทรรศนีย์. สมการ “ทุกข์-สุข” ยามชรา [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.); 2554. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.scribd.com/document/335102687/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%

%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%82-%E0%B8%AA%E0% B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B8%B2.

วรเชษฐ เขียวจันทร์, มูหาหมัดอาลี กระโด. คนปฐมภูมิหัวใจเพชร = Primary we care. กรุงเทพฯ : ปิ่นโต พับลิชชิ่ง, 2560.

สุพัตรา ศรีวณิชชากร. สังคมผู้สูงอายุ และ การทำงานร่วมเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ. วารสารเวชศาสตร์ครอบครัวและระบบบริการปฐมภูมิ 2018;1:4-6.

ปิยะดา ประเสริฐสม. สารจากเครือข่ายสหสาขาวิชาชีพ ทีมทันตกรรมครอบครัว. วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว. 2561;1:9.

สายชล ชำปฏิ และ นันทวรรณ กิติกรรณากรณ์. เรื่องเล่า การเยี่ยมบ้านของเภสัชกร: เรียนรู้การดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ; 2559 .http://www.thaihealthcon- sumer.org/wp-content/uploads/2017/07/Storytelling-FCPL1.pdf.

ธีรภัทร์ ฉันทพันธุ์. งานเภสัชกรรมปฐมภูมิ. วารสาระบบบริการปฐมภูมิและเวชสาสตร์ครอบครัว 25 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว. 2561;1:10.

สุภัค วงศ์ดี, มณฑล สรไกรกิติกูล. การใช้นพลักษณ์ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. Journal of HR intelligence. 2561;13:99-117.

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. หลักสูตรและกณฑ์การฝึกอบรมประกาศนียบัตรประกอบวิชาชีพเวชศาสตร์ครอบครัวการบริบาลแบบประคับประคอง พ.ศ. 2561. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://thaifammed.org/wpcontent/uploads/2021/12/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8

%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3-FMPC-1.pdf.

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. หลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อประกาศวิชาชีพเวชกรรมด้านเวชศาสตร์ครอบครัวผู้สูงอายุ พ.ศ. 2565. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://drive.google.com/file/d/1triNLMeUZ-8ufQUxM45vDZHq5tK3V1J4/view.

World Health Organization. Ottawa charter for health promotion. 1987. [Internet]. 2008. [cited 2022 June 11]. Available from: https://www.who.int/publications/i/item/ottawa-charter-for-healthpromotion.

Exworthy, M. The enduring legacy of Alma Ata: 30 years on London J Prim Care. (Abingdon 2008;1:81-4.

Magnussen L, Ehiri J, Jolly P. Comprehensive versus selective primary health care: lessons for global health policy. Health Aff (Millwood). 2004;23:167-76. doi: 10.1377/hlthaff.23.3.167.

Hone T, Macinko J, Millett C. Revisiting Alma-Ata: what is the role of primary health care in achieving the Sustainable Development Goals? Lancet. 2018 Oct 20;392(10156):1461-72. doi: 10.1016/S0140-6736(18)31829-4.

World Health Organization and the United Nations Children’s Fund (UNICEF). Declaration of Astana.

Global Conference on Primary Health Care. Astana, Kazakhstan October 25-26 2018. [Internet]. [cited 2022 May 28]. Available from: https://www.who.int/docs/default-source/primary-health/declara- tion/gcphc-declaration.pdf.

World Health Organization. Invitation for public comment: Global Action Plan for Healthy Lives and Well-being. [Internet]. 2019 [cited 2022 May 28]. Available from: https://www.who.int/docs/default-source/global-action-plan/acceleratorpaper-2-primary-health-care--phc-17062019-rev.pdf?sfvrsn=4b9499d1_2.

World Health Organization. Primary Care. [Internet]. 2019. [cited 2022 May 28]. Available from: https://www.who.int/teams/integrated-health-services/clinical-services-and-systems/primary-care.

World Health Organization & United Nations Chil- dren’s Fund. (‎UNICEF)‎. Operational Framework for Primary Health Care. [Internet]. 2020 [cited 2022 May 28]. Available from: https://www.who.int/publications/i/item/9789240017832.

Rakel RE, Rakel DP. Textbook of Family Medicine. 8th ed. Philadelphia: Elsevier; 2011.

สายพิณ หัตถึรัตน์. เวชศาสตร์ครอบครัวแนวคิดและประสบการณ์ในบริบทไทย. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง; 2553.

Tangcharoensathien V, Witthayapipopsakul W, Pan- ichkriangkrai W, Patcharanarumol W, Mills A. Health systems development in Thailand: a solid platform for successful implementation of universal health coverage. Lancet. 2018;391(10126):1205-23. doi:

1016/S0140-6736(18)30198-3.

Towse A, Mills A, Tangcharoensathien V. Learning from Thailand’s health reforms. BMJ. 2004;328(7431): 103-5. doi:10.1136/bmj.328.7431.103.

Noknoy, S, Thongwilai P. Current=Priorities in Family Medicine ASEAN Perspective: Thailand.in 2nd ASEAN

Conference for Family Medicine Educators, Building Bridge Across Borders in Family Medicine Education. April, 11, 2018, Illiolo, Philippines. [Internet]. 2019 [cited 2022 May 28]. Available from: https://thaifammed.org/wp-content/uploads/2022/03/

Current-Priorities-in-Family-Medicine.Thailand.May22.2018-Autosaved.pdf.

Kitreerawutiwong N, Jordan S, Hughes D. Facility type and primary care performance in sub-district health promotion hospitals in Northern Thailand. PLoS One. 2017;12:e0174055. doi: 10.1371/journal.pone.0174055.

ภูมิพงศ์ ศรีภา. ทิศทางแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวกับระบบสุขภาพของประเทศไทย. วารสารวิขาการสาธารณสุข. 2562; 28:175-84.

Noknoy S, Kassai R, Sharma N, Nicodemus L, Canhota C, Goodyear-Smith F. Integrating public health and primary care: the response of six AsiaPacific countries to the COVID-19 pandemic. Br J Gen Pract. 2021;71(708):326-9. doi: 10.3399/bjg- p21X716417. PMID: 34319893.

กานต์ชัชพิสิฐ คงเสถียรพงษ์, ศิวิไลซ์ วนรรัตน์วิจิตร. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ: ความท้าทายและการพัฒนา. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุตรดิตถ.์ 2564;13:275-86.

สกล สิงหะ. การทำงานเรียนรู้ร่วมกันแบบสหสาขาวิชาชีพ. วารสารเวชศาสตร์ครอบครัวและระบบบริการปฐมภูมิ. 2018;1:12-5.

สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. การสร้างสุขในการใช้ชีวิตและการทำงาน. หมอชาวบ้าน. 2565;43(513):8-9. เผยแพร่ผ่าน กรมสุขภาพจิต. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มิถุนายน 2565]. https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=2466.

NAPCRG. The Declaration of Astana and what it means for the global role of NAPCRG and WONCA. The Annals of Family Medicine March. 2020;18: 189-90; DOI: https://doi.org/10.1370/afm.2524.

Jungo KT, Anker D, Wildisen L. Astana declaration: a new pathway for primary health care. Int J Public

Health. 2020;65:511-2. [Internet]. [cited 2022 June 4]. Available from: https://doi.org/10.1007/s00038-020-01368-5