ศิลปะไทยอีสาน วิถีวัฒนธรรมและธรรมชาติกับการพัฒนาบุคคลออทิสติก
Main Article Content
บทคัดย่อ
การพัฒนาบุคคลออทิสติก ด้วยแนวความคิดองค์รวม คือ พัฒนาทั้งทางด้านกาย จิต จิตวิญญาณ และสังคม โดยการสร้างโอกาสให้เด็กออทิสติก สัมผัสประสบการณ์ตรง ผ่านประสาทสัมผัสครบทั้งหกด้าน ด้วย กระบวนการการศึกษาวัฒนธรรมจากวรรณกรรมพื้นบ้านสินไซ ชมสิม (อุโบสถ) ณ โบราณสถานสำคัญของท้องถิ่นที่มีภาพวาดเล่าเรื่องสินไซ เดินดงชมป่าามเรื่องราวของวรรณกรรม และการสร้างงานศิลปะหลายรูปแบบ ทั้งการวาดภาพตัวละคร การฝึกซ้อมทักษะละครขั้นพื้นฐาน ได้ฝึกจำลองแสดงท่าทางตามบทบาทของตัวละคร และการได้แสดงละครต่อหน้าผู้ชมหลากหลายกลุ่ม ผลงานเกิดจากการสร้างสรรค์ผลงานร่วมกัน ระหว่างบุคคลออทิสติกด้วยกันเอง และจากการทำงานร่วมกันครูศิลปกรรม นักศึกษาศิลปศึกษา ภายใต้บรรยากาศป่าธรรมชาติ ช่วยเอื้อให้บุคคลออทิสติกเกิดการเรียนรู้หลากมิติทั้ง ทักษะการทำงานศิลปะ ได้ฝึกการสื่อสาร การทำงานกับผู้อื่น และการกล้าแสดงออกที่ช่วยส่งเสริมคุณค่าในตัวเอง ร่วมถึงผู้ปกครองยังได้เห็นศักยภาพที่ซ่อนเร้นอยู่ในตัวเด็กออทิสติก ทำให้เกิดความภูมิใจ และมีความหวังกำลังใจต่อการหาหนทางใหม่ในการพัฒนาบุคคลออทิสติกมากขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร PCFM ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสาร PCFM ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร PCFM หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสาร PCFM ก่อนเท่านั้น
References
2. The American Psychiatric Association [internet]. September 2016 [cited 30 May 2021] . Available from: https://dsm.psychiatryonline.org/pb-assets/dsm/update/DSM5Update2016.pdf#page=7.
3. National Institute of Mental Health [internet]. March 2018 [cited 30 May 2021]. Available from: https://www.nimh.nih.gov/health/topics/autism-spectrum-disorders-asd/.
4. อมรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา, วีรฉัตร์ สุปัญโญ อมรทิพย์ สันตวิรยะพันธุ์. แนวทางการส่งเสริมการเตรียมบุคคลออทิสติกเข้าสู่อาชีพโดยความร่วมมือระหว่างครอบครัว องค์กร และชุมชน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2562; 2 : 253-266.
5. Barbara F C van Heijst, Hilde M Geurts. Quality of life in autism across the lifespan: a meta-analysis. Autism. 2015; 19(2) : 158-67.doi: 10.1177/1362361313517053.
6. ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ์. การศึกษาเรื่องสินไซ : การประยุกต์ใช้ทุนวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนสองฝั่งโขงในกระแสโลกาภิวัฒน์. ขอนแก่น : 2558.
7. สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดขอนแก่น. [internet] 16 August 2016.[ cited 30 May 2021]. Available from: https://www.m-culture.go.th/khonkaen/ewt_news.php?nid=331&filename=index.
8. ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ์ และ มารศี สอทิพย์. ถิ่นฐานสาวะถี หนังสือที่ระลึกในงานกฐินมหาวิทยาลัยขอนแก่น. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 3 ตุลาคม 2563.
9. ไขกุญแจห้องเรียนรวมศิลปะ Key to success of special needs children in Art classroom. นักศึกษาชั้นปี 4 สาขาศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. Khon KAEN : ไม่ปรากฏผู้แต่ง, 2021. Seminar by ARTED30.
10. นวนันท์ ประทุม. Art activity for autism ครั้งที่ 5-6. September 2563.
11. Quinton Deeley. Cognitive style, Spirituality and Religious Understanding: The case of autism. The journal of Religion, Disability and Health, 2009; 13: 77-82.
12. Laura Lakusta, Elizabeth Schroer, Nancy Minshew, and Beatriz Luna Kirsten O'Hearn. Deficit in adults with Autism Spectrum Disorders when processing multiple objects in dynamic scenes. Autism Res 2011; 4 (2) :132-142.
13. เดวิด โบห์ม. ว่าด้วยความสร้างสรรค์ On Creativity. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา, 2557.
14. Ali Bakr, Hadeer Abd-El-Razak, Zeyad El-Sayad Barakat. Nature as a healer for autistic children. Alexandria Engineering Journal 2019; 58: 353-366.