ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติงานที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม่ คุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของนักบัญชีในประเทศไทย

Main Article Content

จตุรภัทร วงศ์สิริสถาพร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการปฏิบัติงานที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม่


คุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของนักบัญชีในประเทศไทย และ2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติงานที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม่ คุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของนักบัญชีในประเทศไทย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ตัวอย่างในการวิจัย คือ นักบัญชี จำนวน 210 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย นำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ เพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัย


             ผลการศึกษาพบว่า การปฏิบัติงานที่รองรับชีวิตและการทำงานใหม่ 1) ด้านการปรับรูปแบบการให้บริการ 2) ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน 3) ด้านการบริหารจัดการองค์การ และ 4) ด้านพัฒนาทักษะ และสมรรถนะของนักบัญชีมีผลกระทบเชิงบวกกับคุณภาพชีวิตในการทำงานโดยรวม และคุณภาพชีวิตในการทำงาน 1) ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม 2) ด้านลักษณะงานที่ส่งเสริมความเติบโต และความมั่นคงให้แก่ผู้ปฏิบัติ 3) ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานโดยส่วนรวม 4) ด้านลักษณะงานมีส่วนร่วมและสัมพันธ์กับสังคมโดยรวม 5) ด้านการปฏิบัติงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น 6) ด้านสิทธิส่วนบุคคลมีผลกระทบเชิงบวกความผูกพันต่อองค์การโดยรวม ดังนั้นองค์การต้องนำแนวทางการปฏิบัติที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม่มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้พนักงานบัญชีมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ


 

Article Details

How to Cite
วงศ์สิริสถาพร จ. . (2023). ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติงานที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถีใหม่ คุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของนักบัญชีในประเทศไทย. วิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 4(2), 51–75. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/MSVAR/article/view/269225
บท
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ วุฒิกนกกาญจน์. (2560). ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำบัญชีของสำนักงานบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสารสยามวิชาการ, 18(2), 1-19.

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2547). พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 . สืบค้นจาก https://www.dbd.go.th.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การใช้SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.

กีรติกร บุญส่ง. (2561). ความผูกพันของพนักงานต่อองค์กรในกลุ่มเฟอร์นิเจอร์. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10(ฉบับพิเศษ), 180-193.

คมกริช นันทะโรจพงศ์ และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ .(2561). อิทธิพลของบรรยากาศองค์การและการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานผ่านความสุขในการทำงานของบุคลากรในอุตสาหกรรมการผลิต. WMS Journal of Management Walailak

University, 7 (1), 21 – 38.

คมกริช นันทะโรจพงศ์ .(2564). คุณภาพชีวิตในการทำงานและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของบุคลากร ในอุตสาหกรรมโลหะและวัสดุ: การวิเคราะห์สหสัมพันธ์คาโนนิคอล. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13 (2), 109 – 129.

จิตรลดา คชารักษ์. (2564). การศึกษาผลกระทบต่อการทำงานของนักบัญชีไทย และการปรับตัวแบบนิวนอร์มอล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สืบค้นจาก http://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:184796.

จิระพร เนตรนุช. (2565). ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่มีต่อการพัฒนานักบัญชียุค-ดิจิทัล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 8(1), 1-18.

เจษฎา นกน้อย. (2565). แนวทางการพัฒนาตนเองของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) เพื่อสอดรับกับวิถีชีวิตรูปแบบใหม่. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 14(2), 83-106.

ฉัตรภรณ์ กาทองทุ่ง และดารณี พิมพ์ช่างทอง. (2562). สภาพแวดล้อมการทำงานและความสมดุลชีวิตกับการทำงาน ที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานบริษัทก่อสร้าง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี,11 (1),149 – 161.

เฉลิมขวัญ เมฆสุข และประสพชัย พสุนนท์. (2560). ปัจจัยคุณภาพชีวิตการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานระดับปฏิบัติการบริษัท สยามฟิตติ้งส์ จำกัด. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 9 (1), 33-50.

ชุมศักดิ์ อินทรรักษ์. (2560). คุณภาพชีวิตกับความสุขในการทำงาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 15(2), 6-14.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2553). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ : เทพเนรมิตการพิมพ์.

ณรงค์ เพียรจตุรัส และ อัควรรณ์ แสงวิภาค. (2564). ผลกระทบระหว่างความผูกพันทุ่มเทของพนักงานที่มีต่องาน คุณภาพชีวิตในการทำงาน ที่ส่งผลต่อการตั้งใจลาออกจากงานของพนักงานบริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่ง ในเขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 16 (1), 68 - 82.

ณิชนก กล่อมจิต. (2564). ผลกระทบของการบริหารความหลากหลายของบุคลากร ประสิทธิภาพของทีม กับความพึงพอใจในงาน ผลการปฏิบัติงาน และเจตนาการลาออกของบุคลากรองค์การมหาชน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม. สืบค้นจาก http://202.28.34.124/dspace/bitstream.

ณัฏฐนันท์ สอดมาลัย และทศพร มะหะหมัด .(2561). คุณภาพชีวิตในการทำงานที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันองค์การของพนักงาน โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพฯ. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 28(1), 85 - 96.

ทนงศักดิ์ แสงสว่างวัฒนะ, ณิชนันทน์ ศิริไสยาสน์ และโชติ บดีรัฐ. (2563). “New Normal” วิถีชีวิตใหม่และการปรับตัวของคนไทยหลังโควิด-19: การงาน การเรียน และธุรกิจ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 4(3), 371-386.

ธัญญารัตน์ ทาประดิษฐ์ และสุภา ทองคง. (2565). อิทธิพลของวัฒนธรรมองค์กรด้านการบัญชี และสภาพแวดล้อมภายในองค์กรที่มีผลต่อคุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานบัญชีในกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 13(1), 137-152.

นริศรา วัฒนศัพท์. (2564). สมรรถนะของนักบัญชีที่มีอิทธิพลต่อปัญญาประดิษฐ์ และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้นจาก http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/bitstream/.

นรินทร์ทิพย์ กองทา. (2562). คุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทสมาร์ท แทรฟิค จำกัด. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา,7(1), 251-273.

นิคม หมูหล้า. (2565). การเปลี่ยนผ่านทางธุรกิจกลางและขนาดย่อมสู่รูปแบบการดำเนินกิจการวิถีใหม่หลังผ่านวิกฤตการแพร่ระบาดของโคโรนาไวรัส 2019. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี,17(4), 182-194.

นัชส์ณภัทร์ เจียมวิจิตร. (2564). ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายรูปแบบกลยุทธ์การปรับตัว เพื่อความอยู่รอดในยุควิถีชีวิตใหม่ของผู้ประกอบการในจังหวัดนครนายก. RMUTT Global Businessand Economics Review, 16 (2), 104-120.

น้ำผึ้ง คำนวณศิลป์ และธนาวุฒิ ประกอบผล. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้บรรยากาศองค์กรความเครียดในการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมในเขตนิคมอุตสาหกรรมปิ่นทอง 2 จังหวัดชลบุรี. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 16 (1), 131 – 139.

บุญช่วง ศรีธรราษฎร์และสุพร แก้วสะอาด. (2564). ผลกระทบของศักยภาพการทำงานแบบใหม่ที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชี บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในสถานการณ์ COVID-19. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 3(6), 17-29.

เบญจวรรณ ศฤงคาร, กฤษดา เชียรวัฒนสุข และจุฑามาศ เจริญสุข .(2561). บรรยากาศองค์กรและคุณภาพชีวิตการทำงาน ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา,7 (1), 35 - 44.

ประสุตา นาดี, ธุวพร โคนพันธ์, กมลลักษณ์ มาตราช, ทัศนัย นาทัน, ตะวัน ทัศนบรรลือ, ปานชีวา กุลี

สูงเนิน, ศุภาพิชญ์ ตรงวัฒนาวุฒิ, บุษยมาส เทียนกระจ่าง, พรพิมล หว่างพัฒน์ และศุภกัญญา ภูทองกิ่ง. (2564). สมรรถนะของนักบัญชีในยุคดิจิทัล: ทักษะการปรับตัวในโลกที่เปลี่ยนแปลง. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ, 8(2), 19-32.

ปฏิมา ถนิมกาญจน์ และเพ็ญพร ปุกหุต. (2565). บรรยากาศองค์การส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานผ่านคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานบริษัทในเขตนิคมอุตสาหกรรมสุรนารี. วารสารวิชาการเทคโนโลยีการจัดการ, 3(1), 83-96.

ปิยะฉัตร เกตุแก้ว .(2564). คุณภาพชีวิตการทำงานและความผูกพันที่มีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของพนักงานในกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 23 (2), 33 – 46.

ปิยพงศ์ ประไพศรี และกาญจนา นันทพันธ์. (2563). แนวทางการพัฒนาวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในยุคดิจิทัล. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(12), 421-435.

พรมิตร กุลกาลยืนยง, วาสนา ศรบุญทอง และกรรณิการ์ เซ่งเข็ม. (2562). คุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานที่ทำงานในนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดสมุทรปราการ: กรณีศึกษาสถานประกอบการที่ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 8(2), 215-229.

พัชรินทร์ ใจเย็น, กฤษฎา มณีชัย, ธัญลักษณ์ ครึ่งธิ และณัฐวัชต์ บุญภาพ. (2560). นักบัญชีกับเทคโนโลยียุคปัจจุบัน. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 3(1), 196-207.

เพราพิลาส ประสิทธิ์บุรีรักษ์ และวรวิทย์ เลาหะเมทนี. (2565). ผลกระทบของความสามารถในการปรับตัวทางวิชาชีพ และความเป็นมืออาชีพด้านบัญชีที่มีต่อความเป็นเลิศในการปฏิบัติงานของผู้บริหารฝ่ายบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 16(1), 97-121.

มธุริน แจ่มแจ้ง .(2563). ความสัมพันธ์เชิงอิทธิพลระหว่างการรับรู้การมีจิตสำนึกของตนเอง คุณภาพชีวิตในการทำงาน ความผูกพันต่อองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพนักงานธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 3(1) , 42 – 61.

วสันต์ ครองมี, ปุณยวีร์ ยังดี และพุฒิสรรค์ เกตุมรรค. (2563). ผลกระทบของทักษะนักบัญชียุคดิจิทัลที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำงานของผู้ทำบัญชีในสำนักงานบริการด้านบัญชี จังหวัดเชียงใหม่. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 2(1), 76-86.

วิยะดา สุวรรณเพชร. (2563). ผลกระทบของทักษะทางการบัญชีดิจิทัลที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานทางบัญชีของนักบัญชี ในเขตนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สืบค้นจาก

http://202.28.34.124/dspace/bitstream/.

วิลัยวรรณ รุจิตร และเทียนแก้ว เลี่ยมสุวรรณ. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบตัวแปรสำคัญในการบริหารทรัพยากรมนุษย์: กรณีศึกษาอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 7 (2), 126 -162.

วิชิต สุรดินทร์กูร. (2565). การบริหารงานองค์การสมัยใหม่ของสำนักงานบัญชีเพื่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่องค์การดิจิทัล. วารสารรัชต์ภาคย์, 16 (46), 576-593.

วิชิต เอียงอ่อน และสุนันทา พรเจริญโรจน์. (2562). นักบัญชียุคดิจิทัล. วารสารบัณฑิตวิทยาลัยรำไพพรรณี, 2(2), 12-22.

ศจี อินทฤทธิ์ และสรัญณี อุเส็นยาง. (2565). นวัตกรรมการจัดการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงาน. Journal of Administrative and Management Innovation,10 (2),132–141.

สภาวิชาชีพบัญชี. (2563). บัญชีกับโรคยอดฮิต “ออฟฟิศซินโดรม” สืบค้นจาก https://www.tfac.or.th.

…………..(2565). ผู้ประกอบวิชาชีพทำบัญชี. สืบค้นจาก https://www.tfac.or.th.

สมทรง คันธนที, ธาริณี อังค์ยศ, ญาณเดช ชื่นจิตต์ และนพดล คำพิทักษ์. (2563). ความเหนื่อยหน่ายในการทำงานที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในงานของนักบัญชีในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารสังคมศาสตร์, 9(1), 114–122.

สุพัตรา หารัญดา. (2565). รายงานวิจัยคุณลักษณะนักบัญชียุคดิจิทัลที่มีต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของนักบัญชีสำนักงานบัญชีคุณภาพในประเทศไทย. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยศรีปทุม

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2565). แนวปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิธีใหม่. สืบค้นจาก www.ocsc.go.th.

อัจฉรา ภาณุศานต์ และอัควรรณ์ แสงวิภาค. (2565). คุณภาพชีวิตในการทำงาน และวัฒนธรรมองค์กรที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันองค์กรของพนักงานระดับปฏิบัติการ ในอุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมัน นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 42 (1), 132-149.

เอกลักษณ์ ชุมภูชัย. (2561). คุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรกรณีศึกษาพนักงานที่ทำงานอยู่ภายใต้การดูแลของบริษัท บริษัท สกิลพาวเวอร์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) สาขาลำพูน (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. สืบค้นจาก http://cmruir.cmru.ac.th/handle/.

Aaker, D. A., Kumar, V. and Day, G. S. (2005). Marketing research (Pacific Rim ed.). New York, NY: John Wiley & Son.

Adinna, A., Najib, M. and Sartono, D. B. (2020). Quality of work life, Organizational commitment and Turnover intention in Account officer of Micro Finance Company, Sosiohumaniora – Jurnal llmu-ilmu Sosial dan Humaniora, 22 (1), 17-25.

Alao, B. B. and Lukman, O. (2020). Coronavirus pandemic and business disruption: the consideration of accounting roles in business revival. International Journal of academic multidisciplinary research, 4 (5), 108 – 115.

Boonsiritomachai, B. (2021). The Moderation Effect of Work Engagement on Entrepreneurial Attitude and Organizational Commitment: Evidence from Thailand’s Entry-Level Employees during the COVID-19 Pandemic. Asia-Pacific Journal of Business Administration, 14 (1), 50 - 71.

Cropanzano, R. and M.S. Michell. (2005). Social exchange theory: An interdisciplinary review. Journal of Management, 31, 874 – 900.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E. and Tatham, R. L. (2006). Multivariate Data Analysis. (5th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice – Hall.

Herzberg, F., Mausner, B. and Snyderman, B. C. (1959). The Motivation to work. New

York: John Wiley and Sons.

Kline, P. (2000). A Handbook of Psychological Testing (2nd ed.). London: Routledge.

Leoin,G., Lai, A., Stacchezzini, R., Steccolini, I., Brammer, S., Linnenluecke, M . and Demirag, I. (2021). Accounting, management and accountability in time of crisis: lesson from the COVID-19 pandemic. Accounting, Auditing & Accountability Journal, 34(6), 1305-1319.

Li, Y., QU, L. and Jing, L. (2017). Innovation and reform of Financial Accounting under New Normal in China. Advance in Social Science, Education and Humanities Research, 106, 357-362.

Maslow, A. H. (1954). Motivation and Personality. New York, NY: Harper & Row Publishers.

Mowday, R. T., Steers, R. M. and Porter, L. W. (1979). The measurement of Organizational commitment. Journal of Vocational Behavior, 14 (2), 224-247.

Munro, B. H. (2005). Statistical method for healthcare research (5th ed.). R.R. Donnelley - Crawfordsvill: United State of America.

Nunnally, J. C. and Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory (3rd ed.). New York, NY: McGraw - Hill, Inc.

Walton. R. E. (1974). Improving the Quality of Work Life. Harvard Business review. 4(7): 12 – 14.

Yamane, Taro. (1967). Statistics, An Introductory Analysis (2nd ed.). New York: Harper and Row.