การทำบัญชีครัวเรือนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ การทำบัญชีครัวเรือนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทการทำบัญชีครัวเรือนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่าง คือ ชุมชนตำบลออนใต้ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ที่สนใจเข้าร่วมโครงการวิจัย จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่าคนในชุมชนส่วนใหญ่ให้ความสนใจที่จะบันทึกบัญชีครัวเรือน เนื่องจากบัญชีครัวเรือนเป็นเครื่องมือสำคัญสู่วิถีแห่งความพอเพียง ทำให้ผู้บันทึกบัญชีทราบแหล่งที่มาและแหล่งที่ใช้ไปของเงินในครัวเรือน เพื่อจะได้ลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น
Article Details
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ และตารางประกอบที่ลงพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้นิพนธ์ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์แต่เพียงผู้เดียว กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นตามและไม่มีส่วนรับผิดชอบใด ๆ
References
กมลพิพัฒน์ ชนะสิทธิ์ และประสพชัย พสุนนท์. (2561). การสุ่มตัวอย่างและการผสานข้อมูลตามแบบ
แผนการวิจัยแบบผสมวิธี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. ปีที่ 12 ฉบับที่ 29 หน้า 147-
จิระ คำบุญเรือง. (2559). การพัฒนากระบวนการจัดการรายจ่ายและเพิ่มรายได้ครัวเรือนตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.
วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 15-25
เทศบาลตำบลออนใต้. (2562). ข้อมูลและสภาพทั่วไป. สืบค้นจาก https://wwwi. go.th/ข้อมูลและ
สภาพทั่วไป.
เทศบาลตำบลออนใต้. (2562). Guide Book ออนใต้. สืบค้นจาก https://www. ontai.go.th/guide
book-ออนใต้/.
ธิปัตย์ โสตถิวรรณ์. (2556). การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะการดำเนินชีวิตแบบพอเพียงของ
เยาวชน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 8-18.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2560). "ออนใต้" นำร่องหมู่บ้าน CIV จาก OEM สู่แบรนด์ปลา 3 ตัว.
สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1489309836.
ผกามาศ มูลวันดี. (2559). ปัจจัยที่มีผลกระทบของพฤติกรรมในการจัดทำบัญชีครัวเรือนที่มีต่อ
คุณภาพชีวิตในครอบครัวของเกษตรกรบ้านหนองตาโก้ ตำบลลุมปุ๊ก อำเภอเมือง จังหวัด
บุรีรัมย์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 26-40.
ภัทรา เรืองสินภิญญา. (2555). “บัญชีครัวเรือน” เรื่องใกล้ตัวที่ถูกมองข้าม. วารสารวิทยาการจัดการ
และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 20-28.
วาริพิณ มงคลสมัย. (2562). การจัดทำบัญชีครัวเรือนของประชาชนในตำบลห้วยทราย อำเภอแม่ริม
จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. ปีที่ 14 ฉบับที่ 50 หน้า
-18.
วาริพิณ มงคลสมัย. (2560). การพัฒนาบัญชีครัวเรือนของกลุ่มแม่บ้านเกษตรบ้านห้วยทราย อำเภอ
แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 142-151.
วาริพิณ มงคลสมัย. (2552). การจัดการความรู้ทางการเงินและการบัญชีเพื่อพัฒนาการผลิตเห็ดและ
ผักปลอดสารพิษกลุ่มเกษตรทฤษฏีใหม่ บ้านเจดีย์แม่ครัว อ.สันทราย จ.เชียงใหม่. เชียงใหม่.
วารสารวิจัยราชภัฎเชียงใหม่. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1.
สายสมร สังข์เมฆ. (2559). การจัดทำบัญชีครัวเรือนของประชาชนในชุมชนเกาะยาวใหญ่จังหวัดพังงา.
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 หน้า 26-
สุภางค์ จันทวานิช. (2559). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุษา จูฑะสุวรรณศิริ. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดทำบัญชีครัวเรือนของชุมชนบางไส้ไก่ แขวงหิรัญ
รูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า
-174.
อัฐพงษ์ ธีระคานนท์. (2562). การศึกษาแรงจูงใจในการจัดทำบัญชีครัวเรือนของประชาชนในอำเภอ
ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย.
หน้า 2480-2492. หอประชุมพญางำเมือง มหาวิทยาลัยพะเยา.
อำพล นววงศ์เสถียร. (2557). พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริโภคในร้านค้าออนไลน์ ใน
กรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้า 134-149.
MGR Online. (2562). เปิด “9 ชุมชนนำร่อง ท่องหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์”. สืบค้นจาก