ลักษณะรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่น

Main Article Content

กันตภณ หนูทองแก้ว
มะลิ ทิพพ์ประจง
ศิริเพ็ญ สุดแสนสง่า

บทคัดย่อ

          องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยการปกครองในท้องถิ่น (Local Administration) ระดับรากหญ้าที่เกี่ยวข้องและใกล้ชิดกับ ประชาชนในท้องถิ่นโดยตรงมีฐานะเป็นตัวแทนของประชาชนในท้องถิ่น ที่ทำหน้าที่เป็นกระบอกเสียงแทนประชาชนในพื้นที ดังนั้น การมีส่วนร่วม ของประชาชนในการบริหารกิจการของท้องถิ่นจึงถือเป็นเรื่องสำคัญเพราะเป็นการลดอำนาจหน้าที่ของรัฐส ่วนกลางทางหนึ่ง ทั้งยังเป็นการเพิ่มอำนาจของท้องถิ่นให้เข้มแข็งขึ้น ทั้งนี้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ได้กำหนดแนวทางและนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินไว้ในมาตรา 78 ว่า รัฐต้องกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของท้องถิ่นได้เองและส่งเสริม ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ พัฒนาเศรษฐกิจของท้องถิ่น ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ เป็นต้น  จึงเห็นได้ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยมีทิศทางในการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการเพิ่มอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ลดอำนาจรัฐส่วนกลาง สร้างความโปร่งใส และในประการสำคัญเป็นการเพิ่มสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น เพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาประชาธิปไตย ที่เข้มแข็งในระดับชาติต่อไป ทั้งนี้ปัจจุบันกฎหมายได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอยู่ 2 ประเภท ได้แก่รูปแบบทั่วไป และรูปแบบพิเศษ ซึ่ง 1) รูปแบบทั่วไป ได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดเทศบาลและ องค์การบริหารส่วนตำบลซึ่งตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2) รูปแบบพิเศษ ได้แก่กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยาซึ่งตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 เป็นต้น

Article Details

How to Cite
หนูทองแก้ว ก., ทิพพ์ประจง ม., & สุดแสนสง่า ศ. (2021). ลักษณะรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, 1(2), 38–49. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JPR/article/view/253075
บท
บทความวิชาการ

References

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2545). ประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ประภาส ปิ่นตบแต่ง. (2552). กรอบการวิเคราะห์การเมืองแบบทฤษฎีขบวนการทางสังคม. เชียงใหม่: มูลนิธิไฮน์ริคเบิลล์สํานักงานภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

พระมหาสุทิตย์ อาภากโร. (2547). เครือข่าย ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข.

ระดม วงษ์น้อม. (2527). แนวความคิดเกี่ยวกับชนชั้นนำและการศึกษาโครงสร้างอำนาจชุมชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2524). พจนานุกรม ศัพท์สังคมวิทยา อังกฤษไทย. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์รุ่งเรืองศิลป์การพิมพ์.

วิทยา นภาศิริกุลกิจ เเละสุรพล ราชภัณฑารักษ์. (2537). พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สุจิต บุญบงการ. (2519). อำนาจทางการเมืองของผู้นำทหารไทย. ใน สมบัติ จันทรวงศ์ และรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (บรรณาธิการ). รักเมืองไทย: ภาคประวัติศาสตร์และการเมือง. กรุงเทพมหานคร: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.

Blau, P. M. (1964). Exchange and Power in social life. New York: Wiley.

Chantarasorn, W. (2000). Theory of policy implementation. Bangkok: Sahay Box Press.

Chantarasorn, W. (2013). Theory of public policy practice. (6th ed). Bangkok: Pek-Wan Graphic.

Chayabuth, C. (1996). Thai local government. (3rd ed). Bangkok: Pikaneth Press.

Chumak, S. (2015). Current International Relations (1990s) to the First decade of the 21st century. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Easton, D. (1957). An Approach to the Analysis of Political System. World Polities, 9(3), 383-400.

Mahood, H. R. (1990). Interest Group Politics in America, A new Intensity. Englewood, Cliffs, N.J.: Prentice Hall.

Michaels, R. (1968). Political Parties. New York: Colier Books.

Mosca, G. N. (1939). The Ruling Class. New York: McGraw-Hill.

Smith, M. J. (1993). Pressure power and policy, State autonomy and policynetwork in Britain and the United States. New York: Harvester Wheatsheaf.

Wootton, G. (1970). Interest Groups. Engle-Wood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall Inc.