ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมตามหลักความดีสากลของผู้บริหารสถานศึกษา

Main Article Content

พระไพบูลย์ พุทฺธิธโช (วงษ์แหวน)

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการนำเสนอภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมตามหลักความดีสากลของผู้บริหารสถานศึกษา อันเป็นการบริหารที่ต้องอาศัยบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาที่แสดงออกถึงภาวะผู้นำในสถานศึกษามีคุณลักษณะตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม มีคุณธรรมจริยธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกโฉมฉับพลันของโลก โดยพิจารณาจากองค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมและเพื่อความสอดคล้องกับวิถีชาวพุทธ 4 องค์ประกอบที่สำคัญ ประกอบด้วย 1) ความไว้วางใจ ความเชื่อมั่นและไว้ใจในเจตนา การกระทำและการแสดงออกในทิศทางที่เหมาะสมของผู้ร่วมงาน 2) ความรับผิดชอบ การยอมรับผลที่เกิดขึ้นจาการปฏิบัติงานในขอบเขตอำนาจหน้าที่ 3) ความซื่อสัตย์ ความโปร่งใสในการบริหารงาน ยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพ 4) ความเคารพ การให้เกียรติและเห็นความสำคัญของคนอื่น รับฟังความคิดเห็นและแสดงความเชื่อมั่นไว้วางใจ เพื่อบูรณากับหลักความดีสากล 5 ประการ ประกอบด้วย 1) ความสะอาด 2) ความเป็นระเบียบ 3) ความสุภาพ 4) การตรงต่อเวลา 5) การมีสมาธิ อันเป็นคุณลักษณะพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคนต้องมี เป็นข้อปฏิบัติทางกาย วาจา ใจ เบื้องต้น เพื่อพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพ และพัฒนาสังคมให้มีความเจริญงอกงาม และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข จะทำให้กาย วาจา ใจสะอาดบริสุทธิ์ เพื่อนำพาองค์กรสถานศึกษาก้าวไปสู่การเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัตน์ในยุคปัจจุบันนี้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2566). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

กัญชพร ปานเพ็ชร. ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมตามหลักวุฒิธรรมสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในยุค 4.0. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 9(1). 496.

เก้าแห่งความรัก. (2566). ประโยชน์ของการเป็นคนตรงต่อเวลา. แหล่งที่มา https://sfrok.wordpress.com. สืบค้นเมื่อ 24 ต.ค. 2566.

คณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ. (2566). บทความคุณธรรม การส่งเสริมวินัย. แหล่งที่มา https://www.nmpc.go.th/content/view. สืบค้นเมื่อ 24 ต.ค. 2566.

เสาวลักษณ์ ลี้รุ่งเรืองพร. (2566). ความสุภาพที่แข็งแกร่ง. แหล่งที่มา https://mgronline.com/qol/detail. สืบค้นเมื่อ 24 ต.ค. 2566.

ธนกฤต ธรรมวณิชย์. (2564). ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับ ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทัตตชีโว). (2566). สมาธิคืออะไร. แหล่งที่มา https://www.dmc.tv/pages/meditation. สืบค้นเมื่อ 24 ต.ค. 2566.

พระราชภาวนาจารย์ (เผด็จ ทตุตชีโว). (2566). ความดีสากล (TH). แหล่งที่มา https://www.interhq.org/teaching. สืบค้นเมื่อ 24 ต.ค. 2566.

ฟ้าพระจันทร์. (2566). ความดี คนดี สังคมดี. แหล่งที่มา https://www.blockdit.com/posts. สืบค้นเมื่อ 24 ต.ค. 2566.

ภิญโญ ทองมี. (2561). รูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผู้นำทางจริยธรรมเชิงพุทธสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

เลิศดาว กลิ่นศรีสุข. (2566). ผู้บริหารยุคใหม่. แหล่งที่มา https:/www.gotoknow.org/posts. สืบค้นเมื่อ 24 ต.ค. 2566.

Berghofer, D. & Schwartz, G. (2008). Ethical leadership: Right relationships and the emotional bottom line the gold standard for success. From http://www.newparadigmjournal.com/Oct2008/ethicalleadership.htm. Retrieved October 24, 2023.

Brown, M. E. and L. K. Trevino. (2006). Ethical leadership: A review and future direction. The Leadership Quarterly. 17(6). 596-597.

Brown, M. E., Trevino, L.K. & Harrison. (2006). Ethical leadership: A review and future directions. The Leadership Quarterly. 17. 595-616.

Freeman, R. E. and L. Stewart. (2023). Developing ethical leadership. From http://www.darden.virginia.edu/corporate-ethisc/pdf/ethical_leadership.pdf Retrieved October 24, 2023.

Heiskanen, E. (2009). What makes a leader good. From http://www.feedbackcatalog.com/index.php/en/newsletter-july-2009/what-makes-a-leader-good. Retrieved October 24, 2023.

Josephson Institute of Ethics. (2009). Ethical leadership outcomes student leader learning outcomes project. From http://sllo.tamu.edu/rubrics. Retrieved October 24, 2023.

Kalshoven, K., Den Hartog, D. N. & De Hoogh. (2011). Ethical leadership at work questionnaire (ELW): Development and validation of a multidimensional measure. The Leadership Quarterly. 22(1). 51-69.

Karaköse, T. (2007). High school teacher's perceptions towards principals 'ethical leadership in Turkey. Asia Pacific Education Review. 8(3). 464-477.