บทบาทพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนกับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้าน โดยใช้แนวคิดการดูแลที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
Main Article Content
บทคัดย่อ
โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคที่พบบ่อยในผู้ป่วยมีอุบัติการณ์และความรุนแรงของโรคเพิ่มมากขึ้น บทความนี้นำเสนอบทบาทของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้าน โดยใช้แนวคิดการดูแลแบบครอบครัวเป็นศูนย์กลางในการบูรณาการองค์ความรู้เฉพาะด้านการวางแผนการดูแลสุขภาพ เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ และลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งผลลัพธ์ของการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้านโดยประสานการมีส่วนร่วมของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ทีมหมอครอบครัวและชุมชน พบว่า ในการปฏิบัติพยาบาลแบบครอบครัวเป็นศูนย์กลางของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ต้องรับรู้บทบาทตามสรรถนะพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ในการพัฒนาจัดการและกำกับระบบการดูแลบุคคล กลุ่มคน ครอบครัวและชุมชนการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรคเบื้องต้น และการฟื้นฟูสภาพโรคด้านความสามารถในการประสานงาน ด้านความสามารถในการเสริมสร้างพลังอำนาจ การสอน การฝึกการเป็นพี่เลี้ยงในการปฏิบัติและด้านความสามารถในการจัดการและประเมินผลลัพธ์ของการดูแลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองที่บ้านโดยประสานการมีส่วนร่วมของทีมหมอครอบครัวและชุมชน ดังนั้น การดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้าน ควรมีการทำงานร่วมกันของพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ทีมหมอครอบครัว และชุมชน รวมถึงผู้ดูแลผู้ป่วยเพื่อสนับสนุนให้ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูร่างกาย จิตใจ และการป้องกันภาวะทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งควรมีการตระหนักถึงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และผู้ดูแลเป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้ผู้ป่วยกลับมามีสุขภาพที่ดีขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ และคณะ. (2561). การรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดในเวชปฏิบัติ. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กองโรคไม่ติดต่อ. (2566). จำนวนและอัตราผู้ป่วยในปี 2563-2565. เรียกใช้เมื่อ 1 สิงหาคม 2566 จาก http://www.thaincd.com/2016/mission/documents-detail.php?id =13653&tid=32&gid=1-020
กองยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2565). ข้อมูลข่าวสารสุขภาพสาธารณสุขสถิติสาธารณสุข. เรียกใช้เมื่อ 15 ตุลาคม 2566 จาก http://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/fil es/statistic62.pdf
ณฐกร นิลเนตร. (2562). ปัจจัยเสี่ยงและการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. วารสารพยาบาลหารบก, 20(2), 51-57.
ดวงธิดา โสดาพรม. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง เขตเทศบาลเมืองอรัญญิก อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. ใน วิทยานิพนธ์เสนอบัณฑิตวิทยาลัย สาขาสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ทิตาวดี สิงห์โค และคณะ. (2563). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและการรับรู้ประโยชน์ของการคงไว้ ซึ่งพฤติกรรมในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง. วารสารโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์, 16(2), 42-60.
พรชัย จูลเมตต์. (2566). การพยาบาลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง (พิมพ์ครั้งที่ 2) . ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
พรรณวลัย ผดุงวณิชย์กุล. (2561). โรคหลอดเลือดสมอง. เรียกใช้เมื่อ 5 ตุลาคม 2566 จาก http://www. med.nu.ac.th/dpMed/fileKnowledge/106_2017-08-19.pdf
วรกร วิชัยโย และคณะ. (2564). ผลของโปรแกรมการประยุกต์ใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยโรคเบาหวาน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิจัยและพัฒนาสุขภาพ, 14(2), 25-34.
วีณา จีระแพทย์. (2558). “กลยุทธ์ครอบครัวเป็นศูนย์กลางเพื่อคุณภาพการดูแลปริกำเนิดอย่างยั่งยืน” ในการดูแลปริกำเนิดอย่างมีคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ยูเนี่ยนครีเอชั่น.
ศิริพร เสมสาร และคณะ. (2561). ผลของโปรแกรมส่งเสริมความ สามารถของญาติผู้ดูแลต่อผลลัพธ์ด้านญาติ ผู้ดูแลและด้านผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ระยะท้าย. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย, 5(1), 112-116.
สภาการพยาบาล. (2552). ประกาศสภาการพยาบาล.ขอบเขตและสมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงสาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน. เรียกใช้เมื่อ 25 ตุลาคม 2566 จาก https://www.tnmc.or.th/images/ userfiles/files/H014.pdf
สภาการพยาบาล. (2564). ประกาศสภาการพยาบาล.แนวทางการพยาบาลทางไกล (Tele-nursing). เรียกใช้เมื่อ 25 ธันวาม 2566 จาก https://ww w.tnmc.or.t h/images/use rfiles/files/ T_0049.PDF
สุปรีดา มั่นคง และคณะ. (2559). บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการ ดูแลแบบประคับประคอง: การศึกษาเบื้องต้น เชิงคุณภาพ. วารสารสภาการพยาบาล, 31(4), 104-121.
สุริยา ฟองเกิด และคณะ. (2563). บทบาทพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนในการดูแลญาติผู้ป่วยติดเตียง. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(1), 46-55.
อาคม รัฐวงษา. (2561). การพัฒนาแนวทางจัดการรายกรณีเพื่อดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 24(1), 22-39.
อุไรวรรณ ทองอร่าม และนิภาวรรณ สามารถกิจ. (2562). อิทธิพลของความพร้อมในการดูแล ภาระในการดูแล และรางวัลจากการดูแลต่อการปรับตัวของ ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. วารสาร สภาการพยาบาล, 46(3), 88-102.
Harrison. (2010). Family-centered pediatric nursing care : State of the science. Retrieved November 9 , 2023, from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20816555
World Health Organization. (2022). Stroke, Cerebrovascular Accident Retrieved. Retrieved October 3, 2023, from http://www.who.Int/topics/accident/en/
World Stroke Organization. (2023). Stroke, Cerebrovascular Accident Retrieved. Retrieved October 3 , 2023, from http://www.world-stroke.org/about-wso/annual-reports