(Retracted article) การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารประกอบการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่างจากเรือนจำ 6 แห่ง ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง ผู้อำนวยการส่วนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน 25 คน เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวเป็นผู้วางนโยบาย มาตรการและปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับการตรวจค้นผู้ต้องขังในเรือนจำ เพื่อรวบรวมความคิดเห็น แนวคิดและข้อเสนอแนะจากกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคและแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังในเรือนจำประเทศไทยตามหลักมาตรฐานสากล ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการตรวจค้นผู้ต้องขังในเรือนจำเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการเรือนจำในด้านการตรวจค้น ได้แก่ การขาดแคลนการสนับสนุนเงินงบประมาณของกรมราชทัณฑ์ด้านการตรวจค้น การขาดแคลนบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านการควบคุมและตรวจค้นผู้ต้องขัง และเรื่อนจำยังประสบปัญหาด้านการนำนโยบายด้าน การตรวจค้นลงสู่การปฏิบัติอย่างจริงจังและ ไม่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งปัญหาด้านอาคารสถานที่ของเรือนจำจะส่งผลต่อการตรวจค้นผู้ต้องขัง ตลอดเรือนจำยังประสบปัญหาด้านการหาข่าวในเรือนจำที่ไม่มีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบบการตรวจค้นผู้ต้องขังให้มีประสิทธิภาพตามหลักมาตรฐานสากล ควรดำเนินการดังนี้ 1) นำนโยบาย 5 ก้าวย่างแห่งการเปลี่ยนแปลงราชทัณฑ์มาเป็นแนวทางในการจัดระเบียบเรือนจำ 2) นำระบบการตรวจค้นตามหลักมาตรฐานสากลมาปฏิบัติอย่างจริงจัง และ 3) กำหนดแผนหรือรูปแบบการตรวจค้นตามหลักมาตรฐานสากล โดยกรมราชทัณฑ์ต้องกำหนดแผนหรือรูปแบบการตรวจค้นให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ
Article Details
References
กรมราชทัณฑ์ กองแผนงาน. (2563). รายงานสถิติผู้ต้องขังกรมราชทัณฑ์. เรียกใช้เมื่อ 18 กรกฎาคม 2563 จาก http://www.correct.go.th/stathomepage/
กรมราชทัณฑ์ สำนักทัณฑวิทยา. (2558). คู่มือการตรวจค้น. นนทบุรี: กรมราชทัณฑ์ สำนักทัณฑวิทยา.
ดารณี พิบูลย์ทิพย์. (2554). ตัวแบบการปฏิบัติที่เหมาะสมต่อผู้ต้องขังเขตควบคุมพิเศษเรือนจำความมั่นคงสูงในประเทศไทย. ใน วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม. มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์. (2531). อาชญาวิทยา: สหวิทยาการว่าด้วยปัญหาอาชญากรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 1. (15 สิงหาคม 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 2. (15 สิงหาคม 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 3. (23 สิงหาคม 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 4. (23 สิงหาคม 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 5. (25 สิงหาคม 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 6. (10 กันยายน 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 7. (15 กันยายน 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 8. (20 กันยายน 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 9. (28 กันยายน 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 10. (5 ตุลาคม 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 11. (15 ตุลาคม 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 12. (18 ตุลาคม 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 13. (28 ตุลาคม 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 14. (4 พฤศจิกายน 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 15. (12 พฤศจิกายน 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 16. (20 พฤศจิกายน 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
ผู้ให้ข้อมูลท่านที่ 17. (24 พฤศจิกายน 2561). การศึกษาปัญหาอุปสรรคและการพัฒนาประสิทธิภาพการตรวจค้นผู้ต้องขังตามหลักมาตรฐานสากลของเรือนจำในประเทศไทย. (ฑิตฐิตา ธิติธรรมพฤกษ์, ผู้สัมภาษณ์)
มณฑล ขันกสิกรรม. (2554). ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารระบบการควบคุมผู้ต้องขังในเรือนจำและทัณฑสถาน เขต 6. ใน วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2559). รายงานสรุปผลการพิจารณาหรือการดำเนินการตามข้อสังเกตของกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติราชทัณฑ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.