บทบาทพระสงฆ์ในการสืบสานวัฒนธรรมไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
พระสงฆ์มีบทบาทสำคัญในการสืบสานวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอนุรักษ์ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่และความเชื่อเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา และในฐานะที่พระสงฆ์เป็นผู้สืบทอดและเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระสงฆ์จึงสามารถใช้บทบาทดังกล่าวในการถ่ายทอดประวัติหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา สู่ความเป็นรูปธรรมให้มากขึ้นและเด่นชัดยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้ที่มาท่องเที่ยววัดได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและวัดอย่างแท้จริง เพราะศิลปกรรมต่าง ๆ ในวัด ไม่ว่าจะเป็นจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ หรือรูปปั้น ส่วนใหญ่จะเป็นการนำเอาเรื่องราวในพุทธประวัติหรือหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาถ่ายทอดออกเป็นศิลปะ ทำให้นักท่องเที่ยวหรือผู้ที่สนใจสามารถชมและได้รับความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาได้เป็นอย่างดี
Article Details
How to Cite
วรานุวัตร พ., อธิปญฺโญ พ., & สิทธินายก พ. (2018). บทบาทพระสงฆ์ในการสืบสานวัฒนธรรมไทย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 5(3), 468–487. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/154172
บท
บทความวิชาการ
References
กรรณิกา ขวัญอารีย์. (2535). บทบาทผู้นำท้องถิ่นต่อการแก้ไขปัญหาแรงงานเด็กในชุมชนที่มีระดับการพัฒนาต่างกัน: ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดสุรินทร์. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต: คณะสังคมสงเคราะห์: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คูณ โทขันธ์. (2547). พุทธศาสนากับชีวิต. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2539). ประวัติพุทธศาสนาในเอเชียอาคเนย์. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิอภิธรรมหาธาตุวิทยาลัยจัดพิมพ์.
จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์ และคณะ. (2532). สังคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
จิรพรรณ กาญจนะจิตรา. (2536). การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ทินพันธ์ นาคะตะ. (2539). พระพุทธศาสนากับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมมิก.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2543). พุทธศาสนาในความเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง.
ประภาส ศิลปะรัศมี. (2543). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของกลุ่มอาชีพ. กรุงเทพมหานคร: รายงานวิจัย กองวิจัยและประเมินผล กรรมการพัฒนาชุมชน.
ประเวศ วะสี. (2539). พระสงฆ์กับการรู้เท่าทันสังคม ในหลักการบริหารและการจัดการวัดในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2542). มองสันติภาพโลกผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิกจำกัด.
พระไพศาล วิสาโล. (2546). พุทธศาสนาในอนาคตแนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี - สฤษดิ์วงศ์.
พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล). (2552). การบริหารวัด. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: เอสทีพีเพรส จำกัด.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
รสิกา อังกูร และคณะ. (2544). ความพร้อมของวัดในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยผ่านการนำชมศิลปวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: ฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่งานวิจัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมบูรณ์ สุขสำราญ. (2540). การพัฒนาชนบทแนวพุทธกรณีศึกษาพระสงฆ์นักพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพิมพ์สวยจำกัด.
สมพร เทพสิทธา. (2538). บทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สภายุวพุทธิกสมาคมแห่งชาติในพระบรมราชูปถัมภ์.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2536). ทฤษฎีสังคมวิทยา: เนื้อหาและแนวทางการใช้ประโยชน์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สิทธิ์ บุตรอินทร์. (2533). พระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2549). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร:: บรรณาคาร.
คูณ โทขันธ์. (2547). พุทธศาสนากับชีวิต. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2539). ประวัติพุทธศาสนาในเอเชียอาคเนย์. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิอภิธรรมหาธาตุวิทยาลัยจัดพิมพ์.
จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์ และคณะ. (2532). สังคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
จิรพรรณ กาญจนะจิตรา. (2536). การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ทินพันธ์ นาคะตะ. (2539). พระพุทธศาสนากับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมมิก.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2543). พุทธศาสนาในความเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง.
ประภาส ศิลปะรัศมี. (2543). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของกลุ่มอาชีพ. กรุงเทพมหานคร: รายงานวิจัย กองวิจัยและประเมินผล กรรมการพัฒนาชุมชน.
ประเวศ วะสี. (2539). พระสงฆ์กับการรู้เท่าทันสังคม ในหลักการบริหารและการจัดการวัดในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2542). มองสันติภาพโลกผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิกจำกัด.
พระไพศาล วิสาโล. (2546). พุทธศาสนาในอนาคตแนวโน้มและทางออกจากวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี - สฤษดิ์วงศ์.
พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล). (2552). การบริหารวัด. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: เอสทีพีเพรส จำกัด.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
รสิกา อังกูร และคณะ. (2544). ความพร้อมของวัดในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยผ่านการนำชมศิลปวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: ฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่งานวิจัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมบูรณ์ สุขสำราญ. (2540). การพัฒนาชนบทแนวพุทธกรณีศึกษาพระสงฆ์นักพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพิมพ์สวยจำกัด.
สมพร เทพสิทธา. (2538). บทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สภายุวพุทธิกสมาคมแห่งชาติในพระบรมราชูปถัมภ์.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2536). ทฤษฎีสังคมวิทยา: เนื้อหาและแนวทางการใช้ประโยชน์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สิทธิ์ บุตรอินทร์. (2533). พระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2549). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร:: บรรณาคาร.