ศักยภาพชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพสังคมของผู้สูงอายุ ตามแนวทางพุทธศาสนา องค์การบริหารส่วนตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

samart Jitae
กานต์ชัญญา แก้วแดง
จันจิราภรณ์ จันต๊ะ
ฉัตรศิริ วิภาวิน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ศักยภาพชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพสังคมของผู้สูงอายุตามแนวพุทธศาสนาบนฐานการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ใช้การวิจัยแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้สูงอายุเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 236 ครัวเรือนและผู้มีส่วนได้เสีย จำนวน 22 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ การสนทนากลุ่มและการสัมมนาเชิงปฏิบัติการณ์แบบมีส่วนร่วม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา


          ผลการวิจัย พบว่า ผู้สูงอายุมีระดับภาวะการสร้างเสริมสุขภาพทางสังคมตามแนวพุทธศาสนาโดยรวมเฉลี่ยระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 2.79) การวิเคราะห์ศักยภาพชุมชนเป็นทางเลือกในการเสริมสร้างสุขภาพทางสังคมของผู้สูงอายุในชุมชนภายใต้กฎเกณฑ์ชุมชน ความเชื่อ และทรัพยากรในท้องถิ่น รวมถึงสะท้อนแนวทางในการเสริมพลังอำนาจด้านกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ณัทธร สุขสีทอง. (2560). ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนากับการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วนตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 23(2), 164 – 173.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2531). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สามเจริญพานิช.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2557). ผลกระทบทางด้านสังคม. เข้าถึงได้จาก http://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom12/05-04-02.html

มาสริน ศุกลปักษ์ และกรัณฑรัตน์ บุญช่วยธนาสิทธิ์. (2560). องค์ประกอบด้านสุขภาพตามแนวคิดสภาวะพฤฒพลังของผู้สูงอายุ: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตรสุขภาพ(11 ฉบับพิเศษ), 53 – 63.

วิภาพร สิทธิสาสตร์ และสุชาดา สวนนุ่ม. (2550). พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน เขตรับผิดชอบสถานีอนามัยบ้านเสาหิน ตำบลวัดพริก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทชินราช สถาบันพระบรมราชนก.

สามารถ ใจเตี้ย. (2561). การสร้างเสริมสุขภาพจิตตามแบบแผนภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาของผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วนตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสวนปรุง, 34(2), 136 – 147.

Administration On Aging. (2013). Aging Statistics. Retrieved from http://www.aoa.gov/AoAroot/Aging_Statistics/

Anderson, L.W. (1988). Education Research Methodology and Measurement : An International Handbook. John, D. Keeves, eds, Victoria : Pergamon.

Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. 3d ed. New York: John Wiley and Sons Inc.

Matthew, B.M., Michael, H. & Johnny, S. (2014). Qualitative Data Analysis: An Expanded Sourcebook. California: SAGE publications.

Pender, N.J. (1996). Health promotion in nursing practice. Stamford, CT: Appleton & Lange.

WHO. (2017, June 22). Global Health and Aging. Retrieved 2018, from https://www.nia.nih.gov/sites/default/files/2017-06/global_health_aging.pdf