A COMPARATIVE STUDY OF THE CARING POTENTIAL FOR THE ELDERLY IN BANDOO SUB-DISTRICT MUNICIPALITY, MUANG DISTRICT, CHIANG RAI PROVINCE AND BOONRUANG SUB-DISTRICT MUNICIPALITY, CHIANG KHONG DISTRICT, CHIANG RAI PROVINCE

Main Article Content

Suwanan Kaewjanta
Yingyong Taoprasert
Kanyanoot Taoprasert
Siwapong Tansuwanwong

Abstract

The objectives of this research article were to compare the caring potential for the elderly in Bandoo sub-district municipality and in Boonruang sub-district municipality and to offer the opportunities to provide elderly care services with Thai traditional medicine using qualitative research. The samples consisted of 2 groups of 13 people: 1 administrator of Bandoo sub-district municipality, 1 administrator of Boonruang sub-district municipality and 11 Thai traditional medicine professors. There was undertaken by in-depth interviews, community observation and focus group. The results revealed that the caring potential for the elderly of the two municipalities differed in the only budget aspect, that was Bandoo sub-district municipality had got higher budget than that of Boonrueang sub-district municipality due to the economic growth. As for other aspects, they were similar. In terms of personnel, both municipalities had administrators who had policies on caring for the elderly and ideas to apply Thai traditional medicine to care for the elderly in the community. In terms of the power to issue ordinances as local laws, both municipalities could issue ordinances on the caring and development the quality of life with Thai traditional medicine. And in terms of the structure, tools and equipment, both municipalities had the Division of Public Health and Environment, places and materials to provide health care services and to promote the quality of life for the elderly. However, Bandoo sub-district municipality is located in urban area with higher budget potential, so there is an opportunity to provide elderly care services with Thai traditional medicine in form of a day care center but Boonrueng sub-district municipality is in a rural community with less budget, so there is an opportunity to provide elderly care services in form of a geriatric clinic with Thai traditional medicine.

Article Details

How to Cite
Kaewjanta, S. ., Taoprasert, Y. ., Taoprasert , K., & Tansuwanwong , S. . (2022). A COMPARATIVE STUDY OF THE CARING POTENTIAL FOR THE ELDERLY IN BANDOO SUB-DISTRICT MUNICIPALITY, MUANG DISTRICT, CHIANG RAI PROVINCE AND BOONRUANG SUB-DISTRICT MUNICIPALITY, CHIANG KHONG DISTRICT, CHIANG RAI PROVINCE. Journal of MCU Nakhondhat, 9(9), 451–467. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/263924
Section
Research Articles

References

กรมการปกครอง. สำนักบริหารงานทะเบียน. (2540). ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถิติประชากรรายจังหวัด ปี พ.ศ. 2540. เรียกใช้เมื่อ 5 มกราคม 2565 จาก https://stat.bora.dopa.go.th/StatMIS/#/ReportStat/3

กรมการปกครอง. สำนักบริหารงานทะเบียน. (2564). ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถิติประชากรรายจังหวัด ปี พ.ศ. 2564. เรียกใช้เมื่อ 20 กรกฎาคม 2565 จาก https://stat.bora.dopa.go.th/StatMIS/#/ReportStat/3

กรรณิกา นันตา และคณะ. (2564). การศึกษาโอกาสในการพัฒนาแนวเวชปฏิบัติการรักษาอาการเลือดลมแปรปรวนในผู้ที่ย่างเข้าสู่วัยสูงอายุด้วยหัตถเวช. วารสารหมอยาไทยวิจัย, 7(1), 53-65.

กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์ และคณะ. (2557). ศักยภาพขององค์กรท้องถิ่นในการจัดการดูแลผู้สูงอายุทุพพลภาพในชุมชน. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 8(2), 132-141.

กิตติพร เนาว์สุวรรณ และมาริสา สุวรรณราช. (2562). สภาพปัญหาและความต้องการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่อยู่ ในเขตความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคใต้ตอนล่าง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุตรดิตถ์, 11(2), 118-132.

จารุวรรณ สุกใส และวิมลฤดี พงษ์หิรัญญ์. (2556). ปัญหาและความต้องการสวัสดิการของผู้สูงอายุที่รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ สำนักงานเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร. วารสารเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและงานวิจัย, 20(1), 46-56.

ฐิติรัตน์ ชัยชนะ และคณะ. (2563). การศึกษาและติดตามผลการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมระยะเริ่มต้นด้วยการแพทย์แผนไทย. วารสารหมอยาไทยวิจัย, 6(1), 45-54.

นายกเทศมนตรีตำบลบ้านดู่. (23 เมษายน 2562). ศักยภาพของเทศบาลตำบลบ้านดู่. (นางสาวสุวนันท์ แก้วจันทา, ผู้สัมภาษณ์)

นายกเทศมนตรีตำบลบุญเรือง. (14 ตุลาคม 2564). ศักยภาพของเทศบาลตำบลบุญเรือง. (นางสาวสุวนันท์ แก้วจันทา, ผู้สัมภาษณ์)

บุญเลิศ เลียวประไพ. (2557). ประชากรไทย อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต . กรุงเทพมหานคร: บริษัทโรงพิมพ์เดือนตุลาจำกัด.

ประกาศคณะกรรมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (2545). เรื่อง แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 119 ตอนพิเศษ 23 ง หน้า 22 (13 มีนาคม 2545).

ปริพัช เงินงาม และคณะ. (2562). การศึกษาสมุนไพรหนุมานประสานกายลดการกำเริบของโรคหืด. ใน มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนำเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมสู่ความยั่งยืน ในวันที่ 20 กรกฎาคม 2562 (น.175-186). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ปิยากร หวังมหาพร และคณะ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารสหวิทยาการวิจัย, 8(1), 33-41.

พรรณภัทร อินทฤทธิ์. (2560). การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย. วารสารหมอยาไทยวิจัย, 3(2), 35-42.

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นพ.ศ. 2542. (2542). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 120 หน้า 1-20 (29 พฤศจิกายน 2542).

มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2564). ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2564. สารประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล, 30(1), 1-2.

รุสนี มามะ และคณะ. (2564). การศึกษาปัญหาและความต้องการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลบ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10(1), 222-231.

ศิริพักตร์ จันทร์สังสา และคณะ. (2563). ประสบการณ์ในการใช้ยาหอมรักษาอาการเลือดลมแปรปรวนของผู้สูงอายุ. วารสารหมอยาไทยวิจัย, 6(2), 35-47.

ศิริพันธุ์ สาสัตย์. (2554). การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายในผู้สูงอายุ. (หน้า 11-26). การพยาบาลผู้สูงอายุปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางในการดูแล. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สายฝน สมภูสาร และคณะ. (2562). ผลการรักษาโรคเรื้อนกวางด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย. วารสารการวิจัย กาสะลองคํา, 13(1), 95-101.

สิทธิศักดิ์ กองมา. (2558). การศึกษาศักยภาพการแพทย์แผนไทยในหน้าที่เป็นทางเลือกของการรักษาโรคที่มีข้อจำกัด. ใน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ (Proceedings) เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15 ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2558 (น.175-186). นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

สุวศิน พลนรัตน์ และคณะ. (2564). แนวทางการพัฒนาคลินิกจิตเวชชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นภายใต้บริบทของการแพทย์พื้นบ้านล้านนา. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ , 8(5), 162-176.