การดำเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการดำเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต13 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต13 จำนวน 322 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นและวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างได้ดำเนินการทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ Scheffe’s
ผลการวิจัยพบว่า
- การดำเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยภาพรวมการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก
- ผลการเปรียบเทียบการดำเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามขนาดของโรงเรียนและประสบการณ์ในการสอน พบว่าโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Article Details
How to Cite
รักษา ย., ประสาน อ., & เต็มรัตน์ ส. (2019). การดำเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(3), 1432–1450. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/187161
บท
บทความวิจัย
References
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2549). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: ข้าวฝ่าง.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช. กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2553). เทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร.
นิกร เพ็ญเวียง. (2538). การนิเทศภายในกับประสิทธิภาพการเรียนการสอนในโรงเรียน. สารพัฒนาหลักสูตร.
ปิยวรรณ เพชรภา. (2551). การบริหารการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 4. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
ไพโรจน์ กลิ่นกุหลาบ. (2551). การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.
รุ่ง แก้วแดง. (2553). ปฏิวัติการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร: มติชน.
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2550). การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร: ต้นอ้อ.
สถาพร พฤฑฒิกุล. (2558). การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2549). มาตรฐานการศึกษาตัวบ่งชี้และเกณฑ์การพิจารณาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สมศ.
สุวัฒน์ บัวจันทร์. (2549). บทบาทผู้บริหารต่อการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.
สุวิมล ว่องวาณิชและคณะ. (2550). วารสารวิชาการรายงานการประเมินผลการดำเนินงานการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์.
อัปษรศรี ปลอดเปลี่ยว. (2543). การประชาสัมพันธ์โรงเรียน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิยาลัยรามคําแหง.
อิสระ เสียงเพราะดี และธวัชชัย พิกุลแก้ว. (2541). คู่มือสอบบรรจุเลื่อนตำแหน่ง ปรับตำแหน่งและปฏิบัติราชการ. กรุงเทพมหานคร: ธนพรการพิมพ์.
อุดมศักดิ์ เวชราภรณ์และคณะ. (2538). การประชาสัมพันธ์ Basic Principle and Practices. กรุงเทพมหานคร: พิศิษฐ์การพิมพ์.
Knezevich. (1984). Administration of Public Education. New York: Harper and Row.
Koontz, H. & O”Donnell, R. C. . (1968). Principles of Management. New York: McGraw- Hill.
Saylor Galen J. and Alexander, W.M. (1974). Planing Curriculum for Schools. New York: Holt Rinchart and Winston.
Waltman,J.W. (1981). Politics and Planning in American School DistricisWho, What, How, . The Southern Journal of Educational Research.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช. กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2553). เทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร.
นิกร เพ็ญเวียง. (2538). การนิเทศภายในกับประสิทธิภาพการเรียนการสอนในโรงเรียน. สารพัฒนาหลักสูตร.
ปิยวรรณ เพชรภา. (2551). การบริหารการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 4. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
ไพโรจน์ กลิ่นกุหลาบ. (2551). การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.
รุ่ง แก้วแดง. (2553). ปฏิวัติการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร: มติชน.
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2550). การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร: ต้นอ้อ.
สถาพร พฤฑฒิกุล. (2558). การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2549). มาตรฐานการศึกษาตัวบ่งชี้และเกณฑ์การพิจารณาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สมศ.
สุวัฒน์ บัวจันทร์. (2549). บทบาทผู้บริหารต่อการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.
สุวิมล ว่องวาณิชและคณะ. (2550). วารสารวิชาการรายงานการประเมินผลการดำเนินงานการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์.
อัปษรศรี ปลอดเปลี่ยว. (2543). การประชาสัมพันธ์โรงเรียน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิยาลัยรามคําแหง.
อิสระ เสียงเพราะดี และธวัชชัย พิกุลแก้ว. (2541). คู่มือสอบบรรจุเลื่อนตำแหน่ง ปรับตำแหน่งและปฏิบัติราชการ. กรุงเทพมหานคร: ธนพรการพิมพ์.
อุดมศักดิ์ เวชราภรณ์และคณะ. (2538). การประชาสัมพันธ์ Basic Principle and Practices. กรุงเทพมหานคร: พิศิษฐ์การพิมพ์.
Knezevich. (1984). Administration of Public Education. New York: Harper and Row.
Koontz, H. & O”Donnell, R. C. . (1968). Principles of Management. New York: McGraw- Hill.
Saylor Galen J. and Alexander, W.M. (1974). Planing Curriculum for Schools. New York: Holt Rinchart and Winston.
Waltman,J.W. (1981). Politics and Planning in American School DistricisWho, What, How, . The Southern Journal of Educational Research.