ผลกระทบของสมรรถนะของนักบัญชียุคดิจิทัลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Main Article Content

นภัทร จันทรจตุรภัทร
พลาญ จันทรจตุรภัทร

บทคัดย่อ

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบสมรรถนะของนักบัญชีในยุคดิจิทัลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักบัญชีที่ในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 308 บริษัท การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา และทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะของนักบัญชีในยุคดิจิทัล 1) ด้านความรู้และทักษะทางวิชาชีพ 2) ด้านทักษะในการบริหารจัดการด้านอารมณ์และความคิด 3) ด้านทักษะการเรียนรู้เชิงพลวัต และ 4) ด้านจรรยาบรรณ ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งผลการวิจัย ได้แสดงให้เห็นว่าผู้บริหารฝ่ายบัญชีควรสนับสนุนและส่งเสริมให้ความสำคัญกับนักบัญชีในการสร้างสมรรถนะด้านดังกล่าวเพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพและส่งผลให้องค์กรได้รับประโยชน์สูงสุด

Article Details

บท
Articles

References

กัญญาพร จันทร์ประสิทธิ์. (2564). ประสิทธิภาพนักบัญชียุคดิจิทัลของสถานประกอบการในเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

จันทร์จิรา เหลาราช. (2564). ปัจจัยแห่งความสำเร็จในกำรปรับเปลี่ยนสู่องค์กรดิจิทัล. วารสารสนเทศศาสตร์, 39(4), 1-14.

ฐิติรัตน์ มีมาก, รติกร บุญสวาท และชุติมา ขลิบทอง. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณและทักษะทางวิชาชีพกับประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีในสำนักงานบัญชี จังหวัดนครราชสีมา. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ, ครั้งที่ 7 วันที่ 23 มิถุนายน 2559 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 653-664.

ณพนณัฐ คำมุงคุณ และกนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2566). สมรรถนะของนักบัญชีและการยอมรับนวัตกรรมการบัญชีส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของรายงานทางการเงิน ในเขตภาคตะวันออก. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 8(2), 1469-1480.

ณัฏฐ์รมณ ศรีสุข และกนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2560). สมรรถนะทางการบัญชีสมัยใหม่ที่มีผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของผู้ทำบัญชี ในพื้นที่จังหวัดนนทบุรีและกรุงเทพมหานคร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 7 “มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคม...พลังขับเคลื่อนสังคมไทยสู่ยุค 4.0” ในวันที่ 6-7 กรกฏาคม 2560, มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา.

ณัฐวงศ์ พูนพล, ผกามาศ บุตรสาลี, อิงอร นาชัยฤทธิ์, และ ปรียาณัฐ มิรัตนไพร. (2567). ผลกระทบของศักยภาพนักบัญชีดิจิทัลที่มีผลต่อคุณภาพงานบริการของผู้ทำบัญชีสำนักงานบัญชีคุณภาพ. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 16(1), 105-117.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2566). รายชื่อบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2566 จาก https://portal.set.or.th/th/company/companylist.html

ธนิษฐา ชีวพัฒนพันธุ์. (2558). สมรรถนะของพนักงานบัญชีในโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี. วารสาร RMUTT Global Business and Economics Review, 10(2), 141-152.

นภัทร จันทรจตุรภัทร. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการมุ่งเน้นสมรรถนะทางด้านวิชาชีพบัญชีแบบมืออาชีพและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12(1), 111-124.

นันทวรรณ บุญช่วย. (2563). ยุคพลิกผันทางเทคโนโลยีกับการพัฒนานักบัญชีนวัตกร. วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 3(1), 15-26.

บุญช่่วง ศรีธรราษฎร์. (2561). ผลกระทบของความชำนาญในวิชาชีพบัญชีที่มีต่่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีบริษัทกลุ่มร้อยแก่นสารสินธุ์. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 13(2), 103-124.

ประทีป วจีทองรัตนา. (2558). ประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่มีผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผู้ทำบัญชี ในเขตจังหวัดนครราชสีมา. วารสารสมาคมนักวิจัย, 20(1), 85-94.

ประสุตา นาดี, ธุวพร โคนพันธ์, กมลลักษณ์ มาตราช, ทัศนัย นาทัน, ตวัน ทัศนบรรลือ, ปานชีวา กุลีสูงเนิน, ศุภาพิชญ์ ตรงวัฒนาวุฒิ, บุษยมาส เทียนกระจ่าง, พรพิมล หว่างพัฒน์, และศุภกัญญาภูทองกิ่ง. (2564). สมรรถนะของนักบัญชีในยุคดิจิทัล: ทักษะการปรับตัวในโลกที่เปลี่ยนแปลง. วารสารศิลปะศาสตร์และวิทยาการจัดการ, 8(2), 19-32.

ปริยากร ปริโยทัย, และ สุภัทรษร ทวีจันทร์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะทางวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในประเทศไทย. วารสารราชธานีนวัตกรรมทางสังคมศาสตร, 1(2), 8-20.

ปิยพงศ์ ประไพศรี, และกาญจนา นันทพันธ์. (2563) แนวทางการพัฒนาวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในยุคดิจิทัล. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(12), 421-435.

รัชนก ขวัญอ่อน, และพรทิวา แสงเขียว. (2565). จรรยาบรรณและทักษะทางวิชาชีพบัญชีที่ส่งผลต่อความสำเเร็จของนักบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(11), 374-388.

รุ่งระวี มังสิงห์ และชุมพล รอดแจ่ม. (2564). สมรรถนะของนักบัญชีที่พึงประสงค์ในยุคดิจิทัล มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี. วารสารนวัตกรรมและการจัดการ, 6(1), 100-118.

ลลิตา พิมทา และ บุญช่วง ศรีธรราษฎร์ (2567). ผลกระทบของภาวะผู้นําทางการบัญชีสมัยใหม่ที่มีต่อประสิทธิภาพการทํางานของผู้บริหารฝ่ายบัญชีธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 17(1), 49-61

ลักษณา ดำชู. (2566). ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศทางการบัญชีที่มีอิทธิพลต่อผลการดําเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 16(1), 63-76.

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ (2564). มาตรฐานการศึกษา (International Standard Education). สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2565 จาก https://acpro-std.tfac.or.th/standard/5/มาตรฐานการศึกษา

สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ (2565). Upskill และ Reskill ความท้าทายสำหรับ CFO และผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2565 จาก https://www.tfac.or.th/Article/ Detail/135090

สำนักงานข้าราชการพลเรือน (2565). Digital Literacy คืออะไร. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (2562). การชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment). สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2567 จาก http://www.epayment.go.th/home/app/

สุขมงคล เลิศภิรมย์สุข, สุนา สุทธิเกียรติ, อรสา อร่ามรัตน์, และ ปรียานุช กิจรุ่งโรจน์เจริญ. (2567). อิทธิพลขององค์การแห่งการเรียนรู้ทางการบัญชีที่มีต่อคุณภาพรายงานทางการเงิน ผ่านการประยุกต์ใช้นวัตกรรมทางการบัญชีของผู้ทำบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 18(1), 190-202.

สุพัตรา รักการศิลป์, เอมอร แสวงวโรตม์, และผกามาศ บุตรสาลี. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมนุษยสังคมสาร (มสส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 20(1), 237-257.

สุพัตรา หารัญดา. (2566). คุณลักษณะนักบัญชียุคดิจิทัลที่มีต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของนักบัญชี สำนักงานบัญชีคุณภาพ ในประเทศไทย. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 13(2), 240-253.

อติกานต์ ประสมทรัพย์. (2563). ประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีในมุมมองของพนักงานบัญชีในเขตกรุงเทพมหานคร.กรุงเทพ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อาทิตย์ สุจเสน, อาภรณ์ แกล้วทนงค์, ภริศฑ์ชาก์ ชดช้อย, และ นิตยา ทัดเทียม. (2565). ลำดับความสำคัญของทักษะความเป็นมืออาชีพทางการบัญชีหลังยุคโควิด-19 ของผู้ทำบัญชีกรณีศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานีในประเทศไทย. วารสารสภาวิชาชีพบัญชี, 4(3), 74-90.

อุเทน เลานำทา และฐิฏิกานต์ สุริยะสาร. (2563). ประสิทธิผลการควบคุมของระบบสารสนเทศทางการบัญชีและความได้เปรียบด้านข้อมูลทางการบัญชี : หลักฐานเชิงประจักษ์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 13(1), 105-120.

Aker, D.A., V. Kumar and G. S. Day. (2001). Marketing Research. 7th ed. New York: John Wiley and Sons.

Hair, J. F., Black, B. J. & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis: A Global Perspective, 7th ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.