คุณค่าที่รับรู้ คุณภาพการบริการและความหลากหลายของกิจการการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวในเทศกาลหิมะและน้ำแข็งของนักท่องเที่ยวชาวจีน เมืองฉางชุน มณฑลจี๋หลิน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของคุณค่าที่รับรู้ คุณภาพการบริการ ความหลากหลายของกิจการการท่องเที่ยวและการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวจีน และ 2) เพื่อศึกษาคุณค่าที่รับรู้ คุณภาพการบริการ และความหลากหลายของกิจการการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวในเทศกาลหิมะและน้ำแข็งของนักท่องเที่ยวชาวจีน เมืองฉางชุน มณฑลจี๋หลิน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ นักท่องเที่ยวชาวจีน จำนวน 384 คน โดยใช้แบบสอบถาม ใช้สถิติพรรณนาหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมานวิเคราะห์ด้วยการถดถอยพหูคูณ แบบวิธีการนำเข้าตัวแปรทั้งหมด ผลการศึกษา พบว่านักท่องเที่ยวชาวจีนมีความคิดเห็นระดับมากทุกปัจจัย โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ คุณภาพการบริการ มีค่าเฉลี่ย 3.75 รองลงมาคือ ความหลากหลายของกิจกรรมการท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ย 3.73 และการตัดสินใจ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.68 ผลการวิเคราะห์การถดถอย พบว่า ความหลากหลายของกิจกรรมการท่องเที่ยวมีอิทธิต่อการตัดสินใจเดินทางของนักท่องเที่ยวชาวจีนมากที่สุด โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยเท่ากับ 0.321 รองลงมาคือ คุณค่าการรับรู้มีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยเท่ากับ 0.298 ลำดับสุดท้าย คือคุณภาพการบริการ มีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยเท่ากับ 0.226 มีระดับนัยสำคัญที่ 0.01
Article Details
บทความจะต้องผ่านการพิจารณายอมรับให้ตีพิมพ์ได้โดยกองบรรณาธิการของวารสารการจัดการ คณะวิทยาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง และได้รับการตรวจอ่านโดยผู้ทรงคุณวุฒิ(Peer review) และผู้เขียนบทความต้องปรับปรุงตามข้อเสนอแนะหากมีก่อนตีพิมพ์ บทความที่ไม่ผ่านการพิจารณา กองบรรณาธิการจะแจ้งให้ทราบผลการพิจารณา แต่จะไม่ส่งต้นฉบับคืนผู้เขียน
วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งฉบับพิมพ์และฉบับออนไลน์ เราอนุญาตให้นำบทความไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้ ภายใต้ขอบเขตของกฏหมายลิขสิทธิ์
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). ผลกระทบเชื้อไวรัส COVID-19 ต่อวิกฤตการท่องเที่ยวของประเทศไทย. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2563
เข้าถึงจาก https://www.senate.go.th/document/Ext24365/24365130_0002.PDF
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2563). สรุปผลงานวิจัยโครงการศึกษาสถานการณ์และโอกาสการส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวกลุ่ม Eco & Adventure. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2563
เข้าถึงจาก http://www.etatjournal.com
เมธาวี จำเนียร กรกฎ จำเนียร ศศิพัชร บุญขวัญ ทองพูล มุขรักษ์ ยงยุทธ ปาณะศรี และวรรณา เทพณรงค์. (2562). การสร้างและสื่อสารกิจกรรมการท่องเที่ยวการแสดงพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 9 (3), 199-210.
อาจารี รุ่งเจริญ. (2557). การใช้เอกลักษณ์จากศิลปะการแสดงพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 16(1), 47-56.
องค์การการท่องเที่ยวโลก. (2019). การท่องเที่ยวครึ่งปี 2019 เพิ่มร้อยละ 4 แม้เจอพิษสงครามการค้าและBrexit. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2563 เข้าถึงจาก https://thestandard.co/world-tourism-first-half-2019/
Campitell, G., & Gobet, F. (2010). Herbert Simon’s Decision-Making Approach: Investigation of Cognitive Processes in Experts. Review of General Psychology. [Online]. Retrieved, April 18, 2021 from: https;//journals.sagepub.com
Changchun City. (2020). Changchun Tourism Consulting. [Online]. Retrieved August 18, 2020 from: http://www.cnwyl.com/detail/39124344.html
Changchun Municipal Bureau of Statistics. (2020). Changchun Statistic Yearbook. [Online]. Retrieved July 18, 2020 from: http://tjj.changchun.gov.cn/ztlm/tjnj/202012/t20201204_2615850.html
Chen, Yu‐Shan. , & Chang, Ching‐Hsun. (2012). Enhance Green Purchase Intentions: The Roles of Green Perceived Value, Green Perceived Risk, and Green Trust. Management Decision. 50(3), 502-520.
Chinese Center for Disease Control and Prevention. (2020). Regular Meeting of COVID-19 Prevention and Control Work of Chinese Center for Disease Control and Prevention. [Online]. Retrieved August 31, 2020 from: http://www.chinacdc.cn
Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques. (3rded.). New York: John Wiley & Son.
International Report on Snow & Mountain Tourism. (2020). Overview of the Key Industry Figures for Ski Resorts. [Online]. Retrieved August 30, 2020 from: https://www.vanat.ch/international-report-on-snow-mountain-tourism
Kotler, P. & Keller. K. (2009). Marketing Management. (13thed.). Pearson Prentice-Hall.
Kotler, P. J. & Armstrong, G. (2010). Principles of Marketing. (13thed.) Pearson. Education.
Lepp, A. & Gibson, H. (2003) Tourist Roles, Perceived Risk and International Tourism, Annals of Tourism Research, 30(3), 606–624.
Liu, M. Zhao, L. & Liu, L. (2018). Study on Ice and Snow Tourism Development Strategies in Changbai Mountain Nature Reserve. Proceedings of the 3th International Conference on Contemporary Education, Social Sciences and Humanities (ICCESSH 2018).
Meng, B. & Choi, K. (2016). Extending the Theory of Planned Behaviour: Testing the Effects of Authentic Perception and Environmental Concerns on the Slow-Tourist Decision Making Process. Current Issues in Tourism. 19(6), 528-544
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988). SERVQUAL: A Multiple-item Scale for Measuring Consumer Perceptions of Service Quality. Journal of Marketing. 64, Spring: 12-40.
Sheth, J. N., Newman, B. I., & Gross, B. L. (1991). Consumption Values and Market Choices: Theory and Applications. Journal of Marketing Research. 29(4), 487-489.
Swarbrooke, J. & Horner, S. (2007). Consumer Behaviour in Tourism. (2nded.). Butterworth– Heinemann, The Netherlands.
Sweeney, J. C., & Soutar, G. N. 2001. Consumer Perceived Value: The Development of A Multiple Item Scale. Journal of retailing, 77(2), 203-220.
Xi Jinping. (2020). Ice and Snow are Also Gold and Silver Mountains. [Online]. Retrieved September 1, 2020 from: https://news.cctv.com
Yang, J.,Yang, R., Sun, J., Huang, T., & Ge, Q. (2017). The Spatial Differentiation of the Suitability of Ice-Snow Tourist Destinations Based on a Comprehensive Evaluation Model in China. Sustainability, 9(5), 774-789.
Zhang, J. (2018). Thoughts on the Development of Ice and Snow Tourism in Changchun City.
Pearl River Essays.