การขับเคลื่อนชุมชนผ่านศูนย์ดิจิทัลชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ
DOI:
https://doi.org/10.14456/jlgisrru.2024.28คำสำคัญ:
กระบวนการขับเคลื่อน, ชุมชน, ศูนย์ดิจิทัลชุมชนบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพปัญหาการขับเคลื่อนชุมชนผ่านศูนย์ดิจิทัลชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ 2. เสนอแนะกระบวนการขับเคลื่อนชุมชนผ่านศูนย์ดิจิทัลชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ ในการเก็บข้อมูลใช้การวิจัยเชิงคุณภาพโดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจำนวน 7 คน ซึ่งเป็นผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายของศูนย์ดิจิทัลชุมชนจังหวัดศรีสะเกษทั้ง 7 แห่ง โดยใช้โปรแกรม Atlas.ti ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาเชิงคุณภาพพบว่า ศูนย์ดิจิทัลชุมชนยังขาดการประชาสัมพันธ์ในกิจกรรมต่าง ๆ บุคลากรที่ดูแลศูนย์ยังไม่เพียงพอทำให้ต้องใช้บุคลกรในหน่วยงานทดแทน สถานที่ตั้งศูนย์ดิจิทัลยังตั้งอยู่ในสถานที่ซึ่งปะปนกับสถานที่ทำงานของหน่วยงานราชการทำให้ไม่สะดวกในการเข้าใช้บริการ ขาดภาคีเครือข่ายในการทำงานร่วมกัน อย่างไรก็ดีผู้บริหารยังเห็นว่าศูนย์ดิจิทัลชุมชนควรปรับกระบวนการบริหารงานเพื่อที่จะเป็นศูนย์กลางที่จะพัฒนาทักษะทางดิจิทัลให้แก่ชุมชนเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวและชุมชนได้ในอนาคต โดยมุ่งเน้นการเสริมสร้างทักษะดิจิทัลขั้นพื้นฐานให้กับชุมชนอย่างเร่งด่วน สร้างแรงจูงใจกับผู้ที่ยังไม่เห็นความความสำคัญของเทคโนโลยี โดยชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ในการใช้ดิจิทัลสำหรับชีวิตประจำวันและนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ โดยมีศูนย์ดิจิทัลชุมชนต้องเป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดความรู้
Downloads
References
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2564). โครงสร้างสำนักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. เข้าถึงได้จาก : https://www.mdes.go.th. สืบค้น 16 ธันวาคม 2564.
กนิษฐา ศอกกลาง. (2558). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบ้านธารปราสาท อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา. วารสาร มทร.อีสาน (ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 2(2) : 81-91.
ดิษฎาพันธ์ บุตรกุลและศิริณา จิตต์จรัส. (2562). การส่งเสริมความพร้อมการดําเนินงานของศูนย์ดิจิทัลชุมชนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 11(1) : 241-255.
ดำเนิน ศิริเทศ. (2565, มีนาคม 30). รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลพราน. สัมภาษณ์
ณัฐพล หิรัญเรือง. (2565, พฤษภาคม 5). ผู้ดูแลศูนย์ดิจิทัลชุมชนหอคอยศรีลำดวนเฉลิมพระเกียรติ. สัมภาษณ์.
ถวิลวดี บุรีกุล. (2551). การมีส่วนร่วม: แนวคิด ทฤษฎีและกระบวนการ. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า. เอกสารประกอบการศึกษาดูงานของคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชนวุฒิสภา.
ธนพร แย้มสุดา. (2561). การจัดการความรู้ : เครื่องมือขับเคลื่อนสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้และองค์กรขีดสมรรถนะสูง.วารสารแพทย์นาวี. 45(1) : 170-181.
ธนาวรรณ สุระชาติ. (2565, พฤษภาคม 2565). ผู้บริหารศูนย์ดิจิทัลชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลกระแชง. สัมภาษณ์
ธวัชชัย วิเศษหมื่น. (2565, เมษายน 26). ผู้ดูแลศูนย์ดิจิทัลชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลตูม. สัมภาษณ์.
พัชราภา สิงห์ธนสาร. (2557). การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนบริเวณพื้นที่รอบวนอุทยานเขาหลวง เขตอำเภอลาดยาว และอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์. วารสารมหาวิทยาลัยภายัพ. 24(2) : 169-204.
พิกุล มีมานะ ดุษฎีวัฒน์ แก้วอินทร์ และสนุก สิงห์มาตร. (2559). การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์. ธรรมทรรศน์. 16(3) : 203-215.
สมพิศ สังข์สุวรรณ. (2565, เมษายน 22). ผู้บริหารศูนย์ดิจิทัลชุมชนโรงเรียนเทศบาล 1 (วัดเจียงอี). สัมภาษณ์.
สวัสดิ์ ดวงแก้ว. (2565, เมษายน 27). ผู้บริหารศูนย์ดิจิทัลชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลปะอาว. สัมภาษณ์.
สิริมาส จันทน์แดง. (2564). Edtech เทรนด์การศึกษายุคใหม่: การนำมาใช้ลดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาท่ามกลางปัญหาช่องว่างทางดิจิทัล. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. 12(3) : 44-56.
สัมพันธ์ พลภักดิ์. (2560). การบริหารจัดการพื้นที่ป่าชายเลนของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย (ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์). 8(1) : 122-131.
สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. เข้าถึงได้จาก : https://www.onde.go.th. สืบค้น 10 ธันวาคม 2564.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
อมรจิต ขานพิมาย และวิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2560). การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมรายได้ของประชาชนตามโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย (สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์). 7(3) : 213-222.
อุไรวรรณ แมะบ้าน. (2563). การบริหารจัดการทุนทางสังคมเพื่อการพัฒนาชุมชนในรูปแบบชุมชนพึ่งตนเอง. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ. 8(2) : 73-88.
เอกอมร มะโนรัตน์. (2565, เมษายน 21). ผู้บริหารศูนย์ดิจิทัลชุมชนหนองใหญ่. สัมภาษณ์
Denizard-Thompson, Nancy M., Feiereisel, Kirsten B., Stevens, Sheila F., Miller, David P. & Wofford, James L. (2010). The Digital Divide at an Urban Community Health Center: Implications for Quality Improvement and Health Care Access. Journal of Community Health. 47(4) : 456-460.
Hughes Jerald & Lan Karl Reiner. (2003). The Culture of Digital Community Networks and Its Impact on the Music Industry. The International Journal on Media Management. 5(3) : 180–189.
John, Gary & Saks, Alan M. (2001). Organizational Behavior: Understanding and Managing Life at Work. (5th ed.). Toronto: Addison Wesley Longman.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2024 วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.