ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง : กรณีศึกษาบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม
Main Article Content
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัฒนธรรมไทยโซ่งซึ่งสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง ด้วยมุมมองทางมานุษยวิทยาดนตรี ที่ศึกษารูปแบบ หน้าที่ และความหมายของเพลงขับสายแปง โดยใช้ข้อมูลจากชุมชนไทยโซ่งบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม เป็นข้อมูลหลัก ผลการศึกษาพบว่า เพลงขับสายแปงคือ การขับลำนำอย่างหนึ่งของชาวไทยโซ่ง โดยการเอื้อนเอ่ยเนื้อความ (กลอน) เป็นทำนองไพเราะ ไม่ซับซ้อน เรียบง่าย เป็นการบรรยายถึงภาพชีวิตในแง่มุมต่างๆ ใช้เพื่อทักทาย บอกเล่าเรื่องราว หรือโต้ตอบกันระหว่างหญิง-ชาย ที่มีอยู่ในกิจกรรมทางวัฒนธรรมของไทยโซ่งในงานรื่นเริงทั่วไป เช่น
อิ่นกอน (เล่นลูกช่วง) การเรียกขวัญ การลงขวง (การเกี้ยวสาว-หนุ่ม) เทศกาลประจำปี เป็นต้น ผลการวิจัยทำให้ได้ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่ในเพลงขับสายแปง อาทิ ประเพณี ความเชื่อ ประวัติศาสตร์ สภาพทางสังคม และโลกทัศน์
อิ่นกอน (เล่นลูกช่วง) การเรียกขวัญ การลงขวง (การเกี้ยวสาว-หนุ่ม) เทศกาลประจำปี เป็นต้น ผลการวิจัยทำให้ได้ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่ในเพลงขับสายแปง อาทิ ประเพณี ความเชื่อ ประวัติศาสตร์ สภาพทางสังคม และโลกทัศน์
Article Details
Section
Research Articles
The articles featured in the Journal of Language and Culture (JLC) constitute academic works representing the viewpoints of the respective author(s). It is crucial to note that these opinions do not necessarily reflect those of the Editorial Board.
All articles published in JLC are released under the Creative Commons Attribution 4.0 International License (CC BY 4.0). This license grants permission for unrestricted use, distribution, and reproduction in any medium, provided proper credit is given to the original author(s) and the source.