การจัดการตลาดลูกค้าในรูปแบบดิจิทัลโซเชียลมีเดีย
DOI:
https://doi.org/10.60027/iarj.2025.281022คำสำคัญ:
การตลาด, การตลาดโซเชียลมีเดีย, แบรนด์บทคัดย่อ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ในสภาวะของธุรกิจสมัยใหม่มีเชื่อมโยงกันมากขึ้นส่งผลถึงปัญหาความยั่งยืนการพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบรนด์สินค้าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้ประกอบการให้เข้าถึงผู้บริโภคของการเข้าสู่การตลาดโซเชียลมีเดียและการจัดการทางตลาดสมัยใหม่กำลังเกิดขึ้นเป็นสิ่งสำคัญด้วยการสร้างเอกลักษณ์ของแบรนด์เพื่อสร้างความดึงดูดลูกค้าให้เกิดความยั่งยืนนําองค์กรไปสู่ความสำเร็จของธุรกิจให้เกิดความยั่งยืน การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการตลาดลูกค้าในรูปแบบดิจิทัลโซเชียลมีเดีย
ระเบียบวิธีการศึกษา: การเข้าใจตลาดในรูปแบบของโซเชียลมีเดียและ การจัดการการตลาดให้เกิดความยั่งยืนของแบรนด์เพื่อสร้าง การรับรู้ของผู้บริโภคนําไปสู่การประยุกต์ใช้พฤติกรรม ทางธุรกิจที่ยั่งยืนได้
ผลการศึกษา: การใช้หลักโซเชียลมีเดียในองค์กรที่มีการบูรณาการความยืดหยุ่นของแบรนด์อย่างประสบความสำเร็จเพื่อให้การวางกลยุทธ์การจัดการการตลาดเป็นปัจจัยสำคัญในการประยุกต์ใช้กลยุทธ์ของการใช้แบรนด์
สรุปผล: องค์กรที่ใช้หลักการโซเชียลมีเดียเพื่อเสริมสร้างความยืดหยุ่นของแบรนด์สามารถปรับปรุงการจัดการการตลาด ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการนำกลยุทธ์แบรนด์ไปปฏิบัติอย่างประสบความสำเร็จ สิ่งนี้เน้นย้ำถึงความสำคัญของการตลาดในการรักษาและปรับปรุงความแข็งแกร่งของแบรนด์ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
References
เกศินี บัวดิศ, และ กัลยา พิมพ์เพราะ. (2564). การสร้างแบรนด์ให้ประสบความ สำเร็จด้วยเครื่องมือนวัตกรรมทางการสื่อสารการตลาด. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 11(2), 308-320.
Bala, M., & Verma, D. (2018). A Critical Review of Digital Marketing. International Journal of Management, IT & Engineering, 8(10), 321-339.
Burt, S., Johansson, U., & Thelander, A (2007). Retail image as seen through consumers' eyes: Studying international retail image through consumer photographs of stores. International Review of Retail, Distribution and Consumer Research, 17(5), 447-467.
Evans, D., Bratton, S., & McKee, J. (2021). Social media marketing. AG Printing & Publishing.
Gerzema, J., & Lebar, E. (2008). The brand bubble: The looming crisis in brand value and how to avoid it. John Wiley & Sons.
Himki, A., Ramadhan, T., Durachman, Y., & Pramono, P.E.S. (2022). Digital Business Entrepreneurship Decisions: An E-Business Analysis (A Study Literature Review). Startupreneur BusinessDigital (SABDA). 1 (1), 104-110. https://doi.org/10.33050/sabda.v1i1.77.
Lazirkha, D. P., Hom, J., & Melinda, V. (2022). Quality Analysis Of Digital Business Services in Improving Customer Satisfaction. Startupreneur Business Digital (SABDA Journal), 1(2), 156–166.
McDowell, W. S. (2006). Issues in marketing and branding. In Handbook of media management and economics (237-258). Routledge.
Tuten, T. L. (2023). Social media marketing. Sage Publications Limited.
Wheeler, A. (2012). Designing brand identity: an essential guide for the whole branding team. John Wiley & Sons.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 Interdisciplinary Academic and Research Journal

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ในบทความใดๆ ใน Interdisciplinary Academic and Research Journal ยังคงเป็นของผู้เขียนภายใต้ ภายใต้ Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License การอนุญาตให้ใช้ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ของสิ่งพิมพ์ ผู้ใช้ใดๆ เพื่ออ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือลิงก์ไปยังบทความฉบับเต็ม รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำดัชนี ส่งต่อเป็นข้อมูลไปยังซอฟต์แวร์ หรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมายอื่นใด แต่ห้ามนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์หรือด้วยเจตนาที่จะเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจใดๆ