การยืดอายุเส้นขนมจีนด้วยสารสกัดฝางเพื่อลดความเสี่ยงต่อภาวะอาหารเป็นพิษ

ผู้แต่ง

  • สุรัสวดี สินวัต วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี https://orcid.org/0009-0005-4173-1728
  • ทวีรัตน์ ทับทิมทอง วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี https://orcid.org/0009-0002-1288-8265
  • จุฑาทิพย์ เอมเปีย วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี https://orcid.org/0009-0005-6798-1282
  • สตรีวิทย์ พิมลทีป วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี https://orcid.org/0009-0003-8344-9128
  • แพรวพรรณ เงินงาม วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี https://orcid.org/0009-0005-9015-2204

DOI:

https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277546

คำสำคัญ:

การยืดอายุ, เส้นขนมจีน, สารสกัดฝาง, ฝาง

บทคัดย่อ

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ขนมจีนเป็นอาหารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอาหารเป็นพิษ ซึ่งในท้องตลาดมีการใส่สารกันเสียเพื่อไม่ให้เส้นขนมจีนเกิดการบูดเน่าอันนำมาสู่การเกิดภาวะอาหารเป็นพิษ ซึ่งหากผู้บริโภคได้รับสารกันเสียเป็นประจำจะทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพตามมา ดังนั้นการใช้สารสกัดฝางมาใช้ทดแทนการใช้สารกันเสียในอาหารประเภทเส้นขนมจีนจะช่วยลดการใช้สารกันเสียประเภทสารเคมีได้ โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการยืดอายุเส้นขนมจีนที่มีส่วนผสมของสารสกัดฝางกับเส้นขนมจีนที่ ไม่มีส่วนผสมของสารกันเสีย, มีสารกันเสียตามมาตรฐาน, และมีสารกันเสียเกินมาตรฐาน

ระเบียบวิธีการวิจัย: เป็นวิจัยเชิงทดลองแท้ (True-Experimental Research) โดยศึกษาผลของสารสกัดฝางที่มีผลต่อระยะเวลาในการยืดอายุเส้นขนมจีน โดยเปรียบเทียบค่าความเป็นกรด – ด่างของสารสกัดฝาง

ผลการวิจัย: พบว่าเส้นขนมจีนที่มีส่วนผสมของสารสกัดฝางที่ความเข้มข้น 3, 6, และ 12 กรัม ทำให้ค่าความเป็นกรด-ด่าง ของเส้นขนมจีนมีการเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่เวลา 30 ชั่วโมงเป็นต้นไป

สรุปผล: เส้นขนมจีนที่มีส่วนผสมของสารสกัดฝางสามารถยืดอายุเส้นขนมจีนได้ดีกว่าเส้นขนมจีนที่ไม่มีส่วนผสมของสารกันเสีย อีกทั้งสามารถยืดอายุเส้นขนมจีนได้ไม่ต่างกับเส้นขนมจีนที่มีส่วนผสมของสารกันเสียตามมาตรฐาน และเส้นขนมจีนที่มีส่วนผสมของสารกันเสียเกินมาตรฐาน

References

นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์. (2560). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพรจากฝาง (Development of Herbal Tea from Caesalpinia sappan L). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้

นฤพร สุทธิสวัสดิ์ และศุทธินี ธไนศวรรยางกูร. (2549). ฤทธิ์กันเสียของฝาง (Caesalpinia sappan L.) ในผลิตภัณฑ์อาหารประเภทน้ำพริก. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล

รุ่งทิพย์ กาวารี, ภาวีณี อารีศรีสม, นรินทร์ ท้าวอก่นจันทร์(2560). การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของฝาง. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้

วัชรินทร์รังษี ภาณุรัตน์, พัชรี กัมมารเจษฎากุล, อิสยา จันทร์วิทยานุชิต. (2559). ฤทธิ์ของสารสกัดสมุนไพรไทย 10 ล่าสุดยับยั้งแบคทีเรีย Staphylococcus aureus ATCC 25923, Bacillus cereus และ Escherichia coli ATCC 25922. วารสาร มฉก. การศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 19 (38), 35-48.

ศิวาพร ศิวเวชช. (2542). การสุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมและฝกอบรมการเกษตรแหงชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสนนครปฐม

ศิวาพร ศิวเวชช. (2546). วัตถุเจือปนอาหาร เล่ม 1. นครปฐม: โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ.

อรุณ ชาญชัยเชาว์วิวัฒน์, สถิตย์ พันวิไล, จรัญ ประจันบาล และสมเกียรติ พรพิสุทธิมาศ. (2020). จุลินทรย์ก่อโรคทางเดินอาหารที่สำคัญ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 11(1), 188-206.

Boonman, N., Chutrtong, J., Wanna, C., Boonsilp, S., Chunchob, S. (2022). Detection of Staphylococcus aureus from contact surfaces of public buses in Bangkok and metropolitan area, Thailand. B I O D I V E R S I T A S. 23 (7), 3395-3400.

Bureau of General Communicable Diseases, Bureau of risk communication and health behavior development, Department of Disease Control. (2020). Department of Disease Control warns people to be careful about 10 dishes during the summer at risk of food poisoning, and recommends sticking to the principle of "cooked, hot, clean". Retrieved on 2020 Jun 18. from: https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=11907&deptcode=brc

Department of Medical Sciences. (1994). How to consume rice noodles safely? Retrieved on 2019 Aug 6. from: http://www.dmsc.moph.go.th/userfiles/files/Notice/FactSheet_Noodle.pdf

Faculty of Pharmacy, Mahidol University. (2014). Preservative of Fang (Caesalpinia sappan L.). Retrieved on 2019 Oct 1. from: https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/newspdf/specialproject/2549-01.pdf

Homhol, S. (2010). Caesalpinia sappan. Retrieved on 2020 July 3, from: https://apps.phar.ubu.ac.th/thaicrudedrug/main.php?action=viewpage&pid=88

Kulsuwan, D. (1994). Influence of the environment. Retrieved on 2020 Jul 7. from: https://www.sites.google.com/site/deunpen601/4-xiththiphl-khxng-sphaph-waedlxm

National Food Institute, Ministry of Industry. (2015). Randomly check the noodles and rice noodles. Retrieved on 2020 July 3, from: https://gnews.apps.go.th/news?news=42554

Rak Khao Yai. (2013). Caesalpinia sappan L. Retrieved on 2020 July 5, from: https://sites.google.com/site/kriengten/smunphir/fang

Rangsipanurat, W. (2016). Effect of 10 Thai herbal extracts on inhibition of bacteria. Staphylococcus aureus ATCC 25923, Bacillus cereus and Escherichea coli ATCC Academic Journal. 35-47.

Suthisawat, N., & Thanaisawarnyangkun, S. (2006). Properties and benefits of the Fang Tree. Retrieved on 2020 Mar 5. from: https://region4.prd.go.th/ewt_news.php?nid=91059&filename=ind

Thai PBS. (2016). Foundation for Consumers found rice noodles in the market with preservatives exceeding the standard - FDA, strong detection, no labeling, fine of 30,000 baht. Retrieved on 2019 October 1, from: https://news.thaipbs.or.th/content/2 50767

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-10-18

How to Cite

สินวัต ส., ทับทิมทอง ท. ., เอมเปีย จ. ., พิมลทีป ส., & เงินงาม แ. (2024). การยืดอายุเส้นขนมจีนด้วยสารสกัดฝางเพื่อลดความเสี่ยงต่อภาวะอาหารเป็นพิษ. Interdisciplinary Academic and Research Journal, 4(5), 561–572. https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277546