ความรับผิดทางอาญาของบุคคลที่แพร่เชื้อ COVID – 19

ผู้แต่ง

  • สุธิดา ผิวขาว คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม https://orcid.org/0000-0001-8064-0419
  • ชัชวรรณ์ ลีโรจนวุฒิกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม https://orcid.org/0000-0001-7659-6064
  • กานต์สินี ทิพยมณเทียร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม https://orcid.org/0000-0002-2682-3254

DOI:

https://doi.org/10.14456/iarj.2022.170

คำสำคัญ:

โควิด 19; , ความรับผิดทางอาญา; , การแพร่เชื้อโควิด 19;, การระบาด; , บทลงโทษ

บทคัดย่อ

ประเทศไทยมีกฎหมายที่ควบคุมการแพร่เชื้อโรคติดต่อร้ายแรง คือ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เมื่อพิจารณาบทลงโทษพบว่าบทลงโทษยังคงมีความรุนแรงน้อยเมื่อเทียบกับความร้ายแรงและผลกระทบจากการติดเชื้อโรคโควิด 19 และการปรับใช้การลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญาในความผิดฐานฆ่าผู้อื่น หรือความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่น หรือความผิดฐานประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย หรือความผิดฐานประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส หรือความผิดฐานประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กาย หรือความผิดฐานหน่วงเหนี่ยวกักขังผู้อื่น ย่อมต้องมีการพิสูจน์เจตนาของการกระทำความผิดเป็นกรณีๆไป จึงเป็นการยากในการเอาผู้กระทำความผิดมาลงโทษ บทวิเคราะห์ความรับผิดทางอาญาของบุคคลที่แพร่เชื้อ COVID – 19 พบว่า กฎหมายที่มีอยู่จึงไม่เพียงพอที่จะเป็นเครื่องมือในการลดการระบาดของเชื้อโรค ในขณะที่ต่างประเทศได้มีกฎหมายเฉพาะในการลงโทษผู้กระทำการแพร่เชื้อโรคร้ายแรงและมีบทลงโทษที่รุนแรง เพราะเชื้อโรคเหล่านี้กระทบต่อประชาชนส่วนใหญ่ ดังนั้น ประเทศไทยควรมีการบัญญัติกฎหมายเฉพาะในการควบคุมจัดการการแพร่ระบาดของเชื้อโรคโควิด 19 รวมถึงเชื้อโรคติดต่อร้ายแรงอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

References

กรมควบคุมโรค. (2022). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). [Online] https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/faq_more.php [20 October 2022]

เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (2540). คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จิตติ ติงศภัทิย์. (2542). หลักวิชาชีพนักกฎหมาย. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จิตติ ติงศภัทิย์. (2553). กฎหมายอาญา ภาค 2 ตอน 2 และภาค 3. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์การพิมพ์เพชรรุ่ง.

สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์. (2549). เจตนาตามกฎหมายเยอรมัน. ดุลพาห. 53, 3: 200-210.

แสวง บุญเฉลิมวิภาส. (2551). หลักกฎหมายอาญา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.

หยุด แสงอุทัย. (2550). กฎหมายอาญา ภาค 1. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Bronitt, S., (1994). Spreading disease and the criminal law. Criminal Law Review, 21-34.

Clark, W. Lawrence., Wingersky, M. F., Marshall, W. L. (William Lawrence). (1958). A treatise on the law of crimes (Clark & Marshall). 6th edition, Chicago: Callaghan.

LELLIOTT, J., SCHLOENHARDT, A., & IOANNOU, R. (2021). Pandemics, Punishment, and Public Health: covid-19 and Criminal Law in Australia. University of New South Wales Law Journal, 44(1), 167–196.

Packer, L Herbert. (1968). The Limits of the Criminal Sanction. California: Sandford University Press.

World Health Organization. (2022). Coronavirus disease (covid-19): How is it transmitted? [Online] https://www.who.int/news-room/questions-and-answers/item/coronavirus-disease-covid-19-how-is-it-transmitted [20 October 2022]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-22

How to Cite

ผิวขาว ส. ., ลีโรจนวุฒิกุล ช., & ทิพยมณเทียร ก. . (2022). ความรับผิดทางอาญาของบุคคลที่แพร่เชื้อ COVID – 19. Interdisciplinary Academic and Research Journal, 2(6), 671–686. https://doi.org/10.14456/iarj.2022.170