บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
DOI:
https://doi.org/10.14456/iarj.2022.164คำสำคัญ:
บทบาท; , องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น;, สิ่งแวดล้อมบทคัดย่อ
ชุมชนหลายแห่งในปัจจุบันนี้พบว่ามีการบุกรุกพื้นที่สาธารณะแหล่งน้ำสาธารณะ ป่าไม้ ภูเขา แหล่งท่องเที่ยว แหล่งประมง ปล่อยให้แหล่งทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม ตื้นเขิน ปนเปื้อน ใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีขอบเขตและไม่รู้วิธีการจัดการกับสิ่งแวดล้อมในชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงมีบทบาทที่สำคัญในการจัดการสิ่งแวดล้อมเพราะถือเป็นผู้ถือครองกรรมสิทธิ์ถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนดและใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุด บทความนี้จะกล่าวถึงบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมายกำหนด มีหน้าที่หลักอยู่ 4 ประการ คือ บทบาทการดำเนินการ บทบาทการส่งเสริม บทบาทการประสาน และบทบาทการสนับสนุน โดยบทบาทหน้าที่นี้สร้างมาเพื่อแก้ไขปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้ดีขึ้นและอำนวยความสะดวกแก่คนในชุมชน นอกจากนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังมีอำนาจหน้าที่ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ที่เน้นให้คนในชุมชนได้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีในชุมชนเพื่อการดำรงชีพและการประกอบอาชีพ ทำให้คนในชุมชนเกิดความรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน ทั้งยังเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการบริหารทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในชุมชนอีกด้วย
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2563). ข้อมูลจำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. [Online] http://asean.dla.go.th/public/article.do?lv2Index=36&lang=th&random=1473013325179 [ 6 สิงหาคม 2563]
เกศสุดา สิทธิสันติกุล, วราภรณ์ ปัญญาวดี, และ ปรารถนา ยศสุข. (2559). องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับบทบาทการสนับสนุนการอนุรักษ์ป่าไม้ในชุมชนท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม. 12(1), 29-45.
โกวิทย์ พวงงาม. (2550). การปกครองท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: เอกซเปอร์เน็ท.
ไททัศน์ มาลา. (2554). การปกครองท้องถิ่นไทยในระยะเปลี่ยนผ่าน. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 1(2), 29-49.
นปภัช ธรรมบำรุง. (2564). การปรับตัวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการสิ่งแวดล้อมในช่วงสถานการณ์โรคระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) : ศึกษากรณีตำบลตลาดใหม่ อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
นภาจรี จิวะนันทประวัติ. (2557). การปกครองท้องถิ่น-ประชาธิปไตยใกล้มือประชาชน. [Online] https://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/ewt_dl_link.php?nid=1340 [20 ตุลาคม 2565]
พงศ์สวัสดิ์ ราชจันทร์. (2563). ชุมชน ท้องถิ่น รัฐ: ความสัมพันธ์ที่มีต่อการปกครองท้องถิ่น. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. 5(8), 16-35.
ราชกิจจานุเบกษา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560. (2560, เมษายน 6). ราชกิจจานุเบกษา, 134 (40ก), 15-18.
วรัญญู เสนาสุ. (2556). การกระจายอำนาจกับการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: เปนไท.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2526). การพัฒนาชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สุนิสา ละวรรณแก้ว. (2555). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. [Online] https://www.gotoknow.org/posts/479897 [20 ตุลาคม 2565]
เสาวนีย์ เภรีฤกษ์. (2558). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม. [Online] https://lawforasean.krisdika.go.th/File/files/1532560323.72902f5246cb96465c5d26e2921162e3.pdf [20 ตุลาคม 2565]
Brown, K. (2002). Innovations for conservation and development. The Geographical Journal. 168(1), 6–17.
Pagdee, A., Kim, Y. & Daugherty, P. J. (2006). What makes community forest management successful: A meta-study from community forests throughout the world. Society and Natural Resources. 19(1), 33 – 52.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 Chakkree Sricharumedhiyan, Chaluai Moree, Wiroj Puengsungnearn

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ในบทความใดๆ ใน Interdisciplinary Academic and Research Journal ยังคงเป็นของผู้เขียนภายใต้ ภายใต้ Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License การอนุญาตให้ใช้ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ของสิ่งพิมพ์ ผู้ใช้ใดๆ เพื่ออ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือลิงก์ไปยังบทความฉบับเต็ม รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำดัชนี ส่งต่อเป็นข้อมูลไปยังซอฟต์แวร์ หรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมายอื่นใด แต่ห้ามนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์หรือด้วยเจตนาที่จะเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจใดๆ