ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนเอกชนจังหวัดกำแพงเพชรตามแนวคิดมาตรฐานการใช้เทคโนโลยีสำหรับผู้นำทางการศึกษา

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

ธฤต อินอ่อน
นันทรัตน์ เจริญกุล

摘要

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นของการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนเอกชนจังหวัดกำแพงเพชร ตามแนวคิดมาตรฐานการใช้เทคโนโลยีสำหรับผู้นำทางการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารระดับสูงของโรงเรียนเอกชนจังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 33 คน โดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความตรงเชิงเนื้อหา 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่น 0.96 วิเคราะห์ความต้องการจำเป็นโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีความต้องการจำเป็น


ผลการวิจัย พบว่า ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนเอกชนจังหวัดกำแพงเพชรตามแนวคิดมาตรฐานการใช้เทคโนโลยีสำหรับผู้นำทางการศึกษา พบว่า ด้านที่มีลำดับความต้องการจำเป็นสูงที่สุด คือ ด้านการสนับสนุนความเสมอภาคและการเป็นพลเมือง (PNImodified=0.458) รองลงมา คือ ด้านการเรียนรู้ร่วมกัน (PNImodified=0.434) ด้านการออกแบบเชิงระบบ (PNImodified=0.396) ตามลำดับ


 

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

##submission.howToCite##
อินอ่อน ธ. . ., & เจริญกุล น. . . (2024). ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนเอกชนจังหวัดกำแพงเพชรตามแนวคิดมาตรฐานการใช้เทคโนโลยีสำหรับผู้นำทางการศึกษา. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University, 10(3), 66–78. 取读于 从 https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/284667
栏目
Articles

参考

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพ: กระทรวงศึกษาธิการ.

จิราพัชร ไผ่วุฒิพันธ์, ปพนสรรค์ โพธิพิทักษ์ และ ทีปพิพัฒน์ สันตะวัน (2565). การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นําเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์. วารสารรัชตภาคย์, 16(44): 236-250.

ธนกฤต พราหมน์นก. (2560). การศึกษาองค์ประกอบด้านภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. วารสารศรีปทุมปริทัศน์, 17(1): 43-53.

นิคม นาคอ้าย. (2549). องค์ประกอบคุณลักษณะผู้นำเชิงอิเล็กทรอนิกส์และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลภาวะ ผู้นำเชิงอิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร. (2558). วิกฤต โรงเรียนเอกชนไทยเสียง...สะท้อนที่ ศธ.ต้องฟัง. มติชน สุดสัปดาห์, 35(1795).

ปอส์ ไกรวิญญ์. (2560). กลยุทธ์การพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนเอกชนตามแนวคิดความเป็นพลเมืองดิจิทัล. วิทยานิพนธ์ ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วสันต์ชัย สดคมขำ. (2563). ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ การบูรณาการเทคโนโลยีและเจตคติต่อการใช้เทคโนโลยีของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1. การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมเกียรติ สรรคพงษ์. (2562). รูปแบบการส่งเสริมการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อยกระดับคุณภาพ การศึกษาในโรงเรียนประชารัฐ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สุภัททรา สังขวร. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะผู้นำเชิงเทคโนโลยีกับการบริหารงานวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2551). เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

Hurt, A. C., Deadman, R. C., Daugherty, J., & Lybrook, D. O. (2014). Pathways to Technology Leadership. In Paper presented at The 2014 ASEE Annual Conference & Exposition, Indianapolis, Indiana. DOI: 10.18260/1-2—22906

Best, John W. (1981). Research in Education. 4th ed. Ne