แนวทางการพัฒนาการทุนทางเศรษฐกิจท้องถิ่นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง ประเทศไทย
##plugins.themes.bootstrap3.article.main##
摘要
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อทุนทางเศรษฐกิจท้องถิ่น 2) สร้างแนวทางการพัฒนาการทุนทางเศรษฐกิจท้องถิ่น และ 3) ตรวจสอบแนวทางการพัฒนาการทุนทางเศรษฐกิจท้องถิ่นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยแบ่งออก 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง ประเทศไทย จำนวน 360 คน กลุ่มที่ 2 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 5 คน และกลุ่มที่ 3 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 9 คน โดยใช้เครื่องมือวิจัย 3 แบบ ประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง และแบบประเมิน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเทคนิคการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุเป็นแบบจำลองมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ค่อนข้างดี พิจารณาจาก ค่า Chi-square Probability Level เท่ากับ 161.389 Relative Chi-square เท่ากับ 1.416 Goodness of Fit Index เท่ากับ .956 และ Root Mean Square Error of Approximation เท่ากับ .026 2) ผลการสร้างแนวทางการพัฒนาการทุนทางเศรษฐกิจท้องถิ่น คือ ทุนทางเศรษฐกิจท้องถิ่นมีความความสัมพันธ์เชิงสาเหตุกับเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ส่วนด้านกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดกับด้านทุนทางสังคมมีความความสัมพันธ์เชิงสาเหตุทางตรงกับทุนทางเศรษฐกิจท้องถิ่น และมีความความสัมพันธ์เชิงสาเหตุทางอ้อมกับเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ที่ส่งผ่านทุนทางเศรษฐกิจท้องถิ่น และ 3) ผลตรวจสอบแนวทางมีด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และด้านความมีประโยชน์ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด
##plugins.themes.bootstrap3.article.details##
参考
กริช แรงสูงเนิน. (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยด้วย SPSS และ AMOS เพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2560). สถิติสำหรับงานวิจัย: หลักการเลือกใช้เทคนิคทางสถิติในงานวิจัยพร้อมทั้งอธิบายผลลัพธ์ที่ได้จาก SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: สามลดา.
ดนชนก เบื่อนอย. (2559). นวัตกรรมกับความคิดสร้างสรรค์. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 3(1): 1-12.
ตวงทอง ลาภเจริญทรัพย์. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวที่มีผลต่อคุณค่าของจุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในประเทศไทย. วารสารรามคำแหง ฉบับบัณฑิตวิทยาลัย, 3(2): 59-75.
ศรายุทธ รัตนปัญญา. (2559). การพัฒนารูปแบบการประเมินสมรรถนะโดยประยุกต์ใช้การประเมินแบบเสริมพลังอำนาจสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาใหม่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 13(60): 201-212.
สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. (2564). คู่มือการประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน. ค้นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2565, จาก http://smce.doae.go.th/.
สุธีรา อะทะวงษา. (2557). คุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการ และลักษณะของสถานประกอบการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
Cai, L. A. (2002). Cooperative branding for rural destination. Annals of Tourism Research, 29(3): 720-742.
Cronbach, Lee J. (2001). Essentials of psychological testing. 5th ed. New York: Harper Collins.
Crossan, M. M., & Apaydin, M. (2010). A Multi-Dimensional Framework of Organizational Innovation: A Systematic Review of the Literature. Journal of Management Studies, 47: 1154-1191.
Dess, Gregory G., Lumpkin G.T. and Eisner Alan B. (2007). Strategic management: Text & Case. 3rd ed. Boston: McGraw-Hill.
Dworkin, S. L. (2012). Sample size policy for qualitative studies using in-depth interviews. Archives of Sexual Behavior, 41(6), 1319-1320. doi:10.1007/s10508- 012-0016-6
Fusch, P. I., & Ness, L. R. (2015). Are We There Yet? Data Saturation in Qualitative Research. The Qualitative Report, 20(9): 1408-1416.
Guest, G., Bunce, A., & Johnson, L. (2006). How many interviews are enough? An experiment with Data Saturation and variability. Field Methods, 18(1): 59-82.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis: A global perspectives. Upper Saddle River, NJ: Pearson Education, International.
Im, H. H., Kim, S. S., Elliot, S., & Han, H. (2012). Conceptualizing destination brand equity dimensions from a customer–based brand equity perspective. Journal of Travel & Tourism Marketing, 29: 385–403.
Kapferer J.N. (2005). The post-global brand. Journal of Brand Management, 12(5): 319-324.
Konecnik, M., & Gartner, C. W. (2007). Customer-based brand equity for a destination. Annals of Tourism Research, 34(2): 400-421.
McKeen, James D.,& Smith, Heather A. (2003). Making IT Happen: Critical Issues in IT Management. Ontario: Wiley.
McMillan, J.H., & Schumacher. (2001). Research in Education. 5th ed. New York: Addison Wesley Longman, Inc.
Onwuegbuzie, A. J., & Leech, N. L. (2007). A Call for Qualitative Power Analyses. Quality and Quantity, 41, 105-121.
Porter, M. E. (1990). The Competitive Advantage of Nations. London: Macmillan.
Ritchie, J. R. B., & Crouch, G. I. (2003). The competitive destination: A Sustainable Tourism Perspective. Wallingford, United Kingdom: CABI.
Robert A. Baron and Jintong Tang. (2011). The role of entrepreneurs in firm-level innovation: Joint effects of positive affect, creativity and environmental dynamism. Journal of Business Venturing, 26: 49-60.