สภาวะแวดล้อมทางธุรกิจที่ส่งผลต่อการพัฒนาทุนมนุษย์ในยุคดิจิทัลของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัดนนทบุรี
##plugins.themes.bootstrap3.article.main##
摘要
ผลการวิจัย พบว่า 1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พบว่า องค์กรส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ด้านกลยุทธ์การบริหารงานขององค์กร ซึ่งความสามารถขององค์การ ธุรกิจ SMEs ต้องบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกลยุทธ์ทางธุรกิจเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันขององค์การอย่างยั่งยืนได้ 2) สภาวะแวดล้อมภายใน ด้านกลยุทธ์ขององค์กร ด้านระบบ ด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถและด้านค่านิยมร่วมส่งผลต่อการพัฒนาทุนมนุษย์ ในยุคดิจิทัลของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งสภาวะแวดล้อมภายในองค์กรด้านกลยุทธ์ขององค์กรต่อการพัฒนาทุน ในยุคดิจิทัลของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมมากที่สุด และ 3) สภาวะแวดล้อมภายนอก ด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรมและด้านเทคโนโลยีส่งผลต่อการพัฒนาทุนมนุษย์ ซึ่งสภาวะแวดล้อมภายนอกองค์กรด้านเทคโนโลยีต่อการพัฒนาทุนมนุษย์ ในยุคดิจิทัลของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมมากที่สุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
##plugins.themes.bootstrap3.article.details##
参考
ชลดา ประยูรพาณิชย์ และคณะ. (2560). การศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรณีศึกษาอุตสาหกรรมยานยนต์ในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 1(2): 58-78.
ประภัสสร ไตรลาภวุฒิ. (2563). แนวทางการพัฒนาทุนมนุษย์ในการขับเคลื่อนองค์กรสู่ความสำเร็จ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 4(3): 176-183.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540: 125-126). การสร้างและพัฒนาและทดสอบผลสัมฤทธิ์ 7. กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
พสุธิดา ตันตราจิณ และคณะ. (2559). ทุนมนุษย์: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใน ศตวรรษที่ 21. วารสารสุทธิปริทัศน์, 30(พิเศษ): 115-123.
ไพรินทร์ ยศเลิศ. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์: บริษัท ซี เอฟ พี จำกัด. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ยุทธชัย ฮารีบิน. (2563). การพัฒนาทุนมนุษย์ด้านกลยุทธ์ของผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 7(1): 159-172.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2562). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและแนวโน้มปี 2562. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.
อภิลักษณ์ ธรรมวิมุตต และ ธีระวัฒน์ จันทึก. (2561). ทุนมนุษย์เชิงนวัตกรรมและสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน. วารสาร Veridian E-Journal, Silpakorn University, , 10(1): 1572-1589.
Gilly, J. W. and Eggland, S. A. (2019). Principles of Human Resource Development. Reading, MA: Addison-Wesley.
Joshi, Kathuria & Porth. (2019). Organizational alignment and performance: past, present and future. Management Decision, 45(3): 503-517.
Rosdi and Harris, (2019). Human Resource Management Practices and organizational commitment: The Case of Academics in a Malaysian Higher Education Institution. In Proceedings of International Conference on Business and Economic Research. 1155-1173.
Salas, Eduardo, Scott I. Tannenbaum, Kurt Kraiger and Kimberly A. Smith-Jentsch. (2019). Design, Delivery, and Evaluation of Training Systems. In Salvendy, G. (Ed.) Handbook of Human Factors and Ergonomics. 10(6): 340- 346.
Schultz, T. W. (2018). Capital Formation by Education. Journal of Political Economy, 68(6): 571-583.
Zalina Ibrahim, Firdaus Abdullah and Azman Ismail, (2018). International Business Competence and Small and Medium Enterprises. Social and Behavioral Sciences, 224: 393-400.