ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

วันวิสาข์ สุวรรณโต
ชยุต ภวภานันท์กุล

摘要

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่สัมพันธ์กับความแกร่งของความผูกพันต่อองค์การของผู้ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่สัมพันธ์กับความแกร่งของความผูกพันต่อองค์การกับความผูกพันต่อองค์การของผู้ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 142 คน โดยใช้โปรแกรม G*Power ของโคเฮน (Cohen, 1977) โดยการรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ใช้สถิติพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน


ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่สัมพันธ์กับความแกร่งของความผูกพันต่อองค์การกับความผูกพันต่อองค์การของผู้ปฏิบัติงานในองค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และด้านการส่งเสริมคุณค่าชีวิตส่วนตัวและชีวิตงานมีระดับมากที่สุด นำสู่การเกื้อหนุนทำให้ระดับความผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความแกร่งของความผูกพันต่อองค์การกับความผูกพันต่อองค์การของผู้ปฏิบัติงานโดยรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับต่ำ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.43 ผลการวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะให้ใช้สมการโชคดีของ Darren Hardy ตามแนวคิดผลสมบูรณ์ผสานร่วมกันและนำการศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของผู้ปฏิบัติงาน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในแผนพัฒนายุทธศาสตร์ปีต่อไปองค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

##submission.howToCite##
สุวรรณโต ว., & ภวภานันท์กุล ช. (2021). ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University, 7(Special), 233–245. 取读于 从 https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/257384
栏目
Articles

参考

ชยุต ภวภานันท์กุล และ ณสรัญ มหิทธิชาติกุล. (2563). ระเบียบวิธีอวตารวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ประสพชัย พสุนนท์. (2553). สถิติธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.

ปรัชมิญช์ เหลาคำ. (2556). ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบลสองห้อง อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

พระศิวฤทธิ์ ชัยทน และ พินัย วิถีสวัสดิ์. (2560). ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรเทศบาลนครพิษณุโลก อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ.

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น. (2556). ยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2557-2560 ในการเสริมสร้างธรรมาภิบาล. สำนักงานปลัด กระทรวงมหาดไทย. ค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2562, จาก http://www.local.moi.go.th/2009/home/NPM.pdf.

สำเริง เพ็งแก้ว สัญญา เคณาภูมิ และ ยุภาพร ยุภาศ.(2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบล ในอำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสาร RMUGRC2017 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2: 1546-1555.

สุรศักดิ์ เพ็งภาค. (2559). วัฒนธรรมองค์การกับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลประศุก อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรัชภาคย์.

อัญชลี ฝอยทอง. (2560). ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดนนทบุรี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

Affum-Osei, E., Acquaah, E. & Acheampong, P. (2015). Relationship between Organisational Commitment and Demographic Variables: Evidence from a Commercial Bank in Ghana. American Journal of Industrial and Business Management, 5: 769-778.

Ahmad, N. & Oranye, N. (2010). Empowerment, Job Satisfaction and Organizational Commitment: A Comparative Analysis of Nurses Working in Malaysia and England. Journal of Nursing Management, 18(5): 582-591.

AL-Jabari, B., & Ghazzawi, I. (2019). Organizational Commitment: A Review of the Conceptual and Empirical Literature and Research Agenda. International Leadership Journal, 11(1): 78-119.

Bluestone, I. (1977). Implementing Quality-of-work life Programs. Management Review, 6(9): 43-46.

Cohen, J. (1977). Statistical Power Analysis for the Behavioral Sciences. Rev. ed. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates, Inc.

Cohen, J. (1988). Statistical Power Analysis for the Behavioral Sciences. 2nd ed. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates, Publishers.

Cohen, J. (1992). A Power Primer. Psychological Bulletin, 112(1): 155-159.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of Psychological Testing. 5th ed. New York: Harper Collins Publishers.

Forkuoh, S. K., Affum-Osei, E., Osei, M. A. & Addo Yaw, V. J. (2014). Employees’ Commitment and Growth of Family Businesses. International Journal of Economics, Commerce and Management, 2(8): 1-14.

Geneviciute-Janoniene, G. & Endriulaitiene, A. (2014). Employees' Organizational Commitment: Its Negative Aspects for Organizations. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 140(2014): 558-564.

Gupta, B. & Singh, A. (2015). Job Involvement, Organizational Commitment, Professional Commitment, and Team Commitment: A Study of Generational Diversity. Benchmarking An International Journal, 22(7): 1192-1211.

Gursoy, D., Maier, T. & Chi, C. G.-Q. (2008). Generational Differences: An Examination of Work Values and Generational Gaps in the Hospitality Workforce. International Journal of Hospitality Management, 27(3): 448-458.

Hardy, D. (2010). The Compound Effect. New York: Vanguard Press.

Judge, T. A., Heller, D. & Mount, M. K. (2002). Five-Factor Model of Personality and Job Satisfaction: A Meta-Analysis. Journal of Applied Psychology, 87(3): 530–541.

Kate, W. & Masako, T. (2002). Reframing Organizational Commitment within a Contemporary Careers Framework. New York: Cornell University.

Khalip, N. (2016). A Three-Component Conceptualization of Organizational Commitment. International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences, 6(12): 16-23.

Likert, R.(1932). A Technique for the Measurement of Attitudes. Archives of Psychology, 140: 1-55.

McLeod, S. A. (2019). Qualitative VS Quantitative Research. Simply Psychology. Retrieved December 30, 2019, from https://shorturl.at/cquNT.

Meyer, J. P. & Herscovitch, L. (2001). Commitment in the Workplace: Toward a General Model. Human Resource Management Review, 11, 3, 299-326.

Sheldon, M. (1971). An Empirical Analysis of Organizational Identification. Academy of Management Journal, 14, 149-226.

Steers, R. M. (1977). Antecedents and Outcomes of Organizational Commitment. Administrative Science Quarterly, 22, 46-56.

Thoresen, C. J., Kaplan, S. A., Barsky, A. P., Warren, C. R. & de Chermont, K. (2003). The Affective Underpinnings of Job Perceptions and Attitudes: A Meta-Analytic Review and Integration. Psychological Bulletin, 129(6): 914–945.