ปัจจัยการจัดการที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามแนวคิดการเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว: กรณีศึกษา โรงไฟฟ้าพลังความร้อน
##plugins.themes.bootstrap3.article.main##
摘要
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการจัดการที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามแนวคิดการเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว: กรณีศึกษา โรงไฟฟ้าพลังความร้อน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารของโรงไฟฟ้าพลังความร้อน กำหนดการสุ่มตัวอย่างโดยสะดวก จำนวน 178 โรงงาน ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 124 โรงงาน สถิติที่ใช้ คือค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาความสัมพันธ์โดยใช้การถดถอยแบบพหุคูณ
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้านการสั่งการบังคับบัญชา การควบคุม การวางแผน และการประสานงานสามารถร่วมกันพยากรณ์ระดับความเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนได้ร้อยละ 88.8 (Adjusted R2=.888) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
##plugins.themes.bootstrap3.article.details##
##submission.howToCite##
เอี่ยมสุภาษิต จ., อวเกียรติ ส., & ศิริวิศิษฐ์กุล ส. (2021). ปัจจัยการจัดการที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามแนวคิดการเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว: กรณีศึกษา โรงไฟฟ้าพลังความร้อน. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University, 7(1), 215–225. 取读于 从 https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/251676
栏目
Articles
参考
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2560). คู่มืออุตสาหกรรมสีเขียว: เกณฑ์การรับรองและส่งเสริมโรงงานอุตสาหกรรมสู่อุตสาหกรรมสีเขียว. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: กรมโรงงานอุตสาหกรรม.
จารุวงศ์ เรืองสุวรรณ และคณะ. (2560). ผลสัมฤทธิ์การนำนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวไปปฏิบัติในเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ปัณณทัต นอขุนทด. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา. สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ระพีวรรณ อินหลี. (2558). ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยความสามารถของหัวหน้างานและปัจจัยนโยบายการจัดการที่มีต่อระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ่ กรุงเทพฯ. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ลลิดา ศรีสัมพันธ์. (2555). ปัจจัยทางด้านการบริหารงานที่มีผลต่อการสร้างทีมงานให้มีประสิทธิภาพ กรณีศึกษา คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยราชพฤกษ์. วิทยาลัยราชพฤกษ์.
อนันต์ รัศมี. (2560). การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.
Best, John W. (1986). Research in Education. 5th ed. New Jersey: Prentice Hall, Inc.
Yamane, T. (1973). Statistics an Introductory Analysis. New York: Harper and Row.
จารุวงศ์ เรืองสุวรรณ และคณะ. (2560). ผลสัมฤทธิ์การนำนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวไปปฏิบัติในเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ปัณณทัต นอขุนทด. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา. สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ระพีวรรณ อินหลี. (2558). ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยความสามารถของหัวหน้างานและปัจจัยนโยบายการจัดการที่มีต่อระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ่ กรุงเทพฯ. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ลลิดา ศรีสัมพันธ์. (2555). ปัจจัยทางด้านการบริหารงานที่มีผลต่อการสร้างทีมงานให้มีประสิทธิภาพ กรณีศึกษา คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยราชพฤกษ์. วิทยาลัยราชพฤกษ์.
อนันต์ รัศมี. (2560). การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.
Best, John W. (1986). Research in Education. 5th ed. New Jersey: Prentice Hall, Inc.
Yamane, T. (1973). Statistics an Introductory Analysis. New York: Harper and Row.