การประเมินผลการจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวโดยเรือยอชท์ กรณีการจัดงาน ไทยแลนด์ ยอชท์ โชว์ ครั้งที่ 2

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

ณัฐกฤตย์ ดิฐวิรุฬห์
ฐะนุพงศ์ ศรีกาฬสินธุ์
ฉัตรเมือง เผ่ามานะเจริญ

摘要

การจัดงานไทยแลนด์ ยอชท์ โชว์ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2559 เป็นการจัดกิจกรรมพิเศษ (Special Event) เพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวโดยเรือยอชท์ โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและการสนับสนุนของกรมเจ้าท่า ระหว่างวันที่ 15 - 18 ธันวาคม 2559 ณ อ่าวปอ แกรนด์ มารีน่า โดยภาครัฐมีแนวทางนโยบายในการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลโดยเรือสำราญในกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ และการนำไปสู่การเป็นศูนย์กลางท่าจอดเรือ (Marina) ของอาเซียน (Thailand: Marina Hub of ASEAN) กิจกรรมในงานประกอบด้วยกิจกรรมประชุมสัมมนาเกี่ยวกับธุรกิจเรือสำราญและท่าจอดเรือในอนาคต นิทรรศการการแสดงสินค้า และนิทรรศการการท่องเที่ยว ท่าจอดเรือ และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องต่าง ๆ การแสดงเรือยอชท์ (Yacht) รวมทั้งกิจกรรมอื่น ๆ ผลของการจัดงานในส่วนของการประชุมสัมมนาได้แสดงให้เห็นถึงมูลค่าทางเศรษฐกิจที่มีมูลค่ามหาศาลของธุรกิจเรือยอชท์และ
ท่าจอดเรือ ส่วนของการจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการการท่องเที่ยว ประกอบไปด้วยผู้ประกอบการ
ที่เป็นตัวแทนเรือ อู่ต่อเรือและซ่อมแซมเรือ และธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อส่วนของการจัดแสดงเรือ มี
เรือยอชท์เข้าแสดง จำนวน 45 ลำ จำนวนผู้เข้าชมงานทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติรวม 2,951 คน
ผู้เข้าชมงานมีความพึงพอใจต่อการจัดงานในระดับมาก ทั้งนี้การจัดงานมีส่วนทำให้เกิดการแพร่กระจายเรื่องราวของการท่องเที่ยวทางทะเลไทยโดยเรือสำราญในสื่อออนไลน์พอสมควร ในการจัดงานครั้งต่อไปควรมีรูปแบบและวิธีการที่แปลกใหม่ และมีความแตกต่างอย่างโดดเด่นกว่างานที่จัดในประเทศอื่น ๆ เพื่อเป็นแรงจูงใจในการชักนำให้เกิดการเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรม

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

##submission.howToCite##
ดิฐวิรุฬห์ ณ., ศรีกาฬสินธุ์ ฐ., & เผ่ามานะเจริญ ฉ. (2018). การประเมินผลการจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวโดยเรือยอชท์ กรณีการจัดงาน ไทยแลนด์ ยอชท์ โชว์ ครั้งที่ 2. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University, 4(2), 38–51. 取读于 从 https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/144163
栏目
Articles

参考

กฤษณ์ วรรณวรมิศร์. (2553). สื่อการเปิดรับกับการตัดสินใจท่องเที่ยวต่างประเทศของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. รายงานเฉพาะบุคคล วารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการสื่อสารองค์กร คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุเทพ สิงห์ฆาฬะ. (2560). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในมุมมองของผู้ประกอบการท่องเที่ยวและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 3(2), 127-136. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2560, จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/
112615/87717


เสรี วงษ์มณฑา. (2547). ครบเครื่องเรื่องการสื่อสารการตลาด. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด.

Caru, A., & Cova, B. (2003). Revisiting consumption experience: A more humble but complete view of the concept. Marketing Theory, 3(2), 267–286.

Singkhalah, S. (2017). Development of Sustainable Tourism at Kamala Sub-district and Kathu District, Phuket in Tourism Operators’ and Local Government Officers’ Perspective. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University, Vol. 3 No.2 p. 127 – 136. Retrieved on 15th January, 2017, from https://www.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/112615/87717 (in Thai)
Wanworamit, K. (2010). Media exposure to foreign tourist decisions of people in Bangkok. Individual Report. Master of Journalism Corporate Communications Management Faculty of Journalism and Mass Communication Thammasat University. (in Thai)

Wongmonta, S. (2004). All about marketing communication. Bangkok: Tammasarn. (in Thai)