การวิจัยเชิงคุณภาพในงานวิจัยระบบสุขภาพชุมชน: มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน และกระบวนทัศน์ที่ต่างจากการวิจัยเชิงปริมาณ
Main Article Content
บทคัดย่อ
ระบบสุขภาพชุมชนเป็นระบบที่มีองค์ประกอบต่าง ๆ สัมพันธ์กันเพื่อสุขภาวะที่ดีทุกมิติของประชาชนในชุมชน โดยมีชุมชนร่วมกันเป็นเจ้าของ และดำเนินการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ เน้นการดูแลตนเองของประขาขนในชุมชนเป็นหลัก ระบบสุขภาพชุมชนมิได้มีเพียงสถานพยาบาล แพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือกเท่านั้น แต่ยังรวมความเชื่อของคนในชุมชน วัฒนธรรม การใช้ยา แหล่งอาหาร ตลาด ร้านค้า คลินิก ร้านขายยา การวิจัยระบบสุขภาพชุมชนจึงมีความลึกซึ้ง ซับซ้อน จึงต้องอาศัยกระบวนทัศน์การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือปรากฏการณ์นิยมที่มีความแตกต่างจากการวิจัยเชิงปริมาณ หรือปฏิฐานนิยม ทั้งในมโนทัศน์ต่อความจริง ความรู้ ระเบียบวิธีวิจัย เป้าหมายการวิจัย บทบาทของผู้วิจัย กลุ่มตัวอย่าง ชนิดข้อมูล วิธีวิเคราะห์ข้อมูล และวิธีการเขียนรายงาน มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนบางประเด็นอาจทำให้ผู้วิจัยออกแบบการวิจัยไม่ถูกต้องเหมาะสมในการดำเนินการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลผิดพลาด คลาดเคลื่อน ผลการวิจัยขาดความลึกซึ้ง น่าเชื่อถือ เสียเวลา เสียโอกาส เสียงบประมาณ ดังนั้น บทความนี้จึงนำเสนอกระบวนทัศน์การวิจัยเชิงคุณภาพที่ต่างจากการวิจัยเชิงคุณภาพกับวิจัยเชิงปริมาณ และมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนอันจะทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยระบบสุขภาพชุมชนได้ถูกต้องเหมาะสมมากยิ่งขึ้น
Article Details
References
ชาย โพธิสิตา. (2559). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินติ้ง.
ทัศนีย์ ญาณะ และ รัตนศิริ ศิระพาณิชย์กุล. (2558). “สู่ชุมชน สุขภาพดี” คู่มือการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนด้วยกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่. นนทบุรี: สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบ สุขภาพชุมชน.
สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน. (2556). คู่มือการจัดการสุขภาพชุมชน (มาปลูกต้นสุขให้เต็มแผ่นดิน). นนทบุรี: สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบ สุขภาพชุมชน (สพช.).
สุภางค์ จันทวานิช. (2557). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภางค์ จันทวานิช. (2559). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 23. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอกชัย รุจิกมลพงศ์ และ พงษ์เสฐียร เหลืองอลงกต. (2561). คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (มิถุนายน – กันยายน 2561), 161-177. ค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2561, จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/rpu/ article/ view/144260/106727
Daly, K.J. (2007). Qualitative Methods for Family Studies and Human Development. CA: Sage.
Health Systems Research Institute. (2013). Community Health System Management Manual (Let’s Plant Happy Trees for country). Nonthaburi: Community Helath Systems Research and Development Institute. (in Thai)
Jantawanich, S. (2014). Data Analysis in Qualitative Research. 11th ed. Bangkok: Chulalongkorn University Publisher. (in Thai)
Jantawanich, S. (2016). Qualitative Research Methodology. 23th ed.. Bangkok: Chulalongkorn University Publisher. (in Thai)
Juengsatiensup, K. et al. (2017). Holistic Health and Community Way. Nonthaburi: Health Systems Research Institute. (in Thai)
Krippendorff, K. (2013). Content Analysis: An Introduction to Its Methodology (3rd ed.). Thousand Oaks, CA: Sage.
Maxwell, J. A. (2010). Qualitative research design: An interactive approach (3rd ed.). Thousand Oaks, CA: Sage.
Photisita, C. (2016). Science and Art in Qualitative Research. 7thed. Bangkok: Amarin Printing. (in Thai)
Punch, K.F. (2006). Introduction to Social Research QuantitatIve & Qualitative Approaches. CA: Sage.
Richards, L., Morse, J.M. (2013). Read Me First for A User’s Guide to Qualitative Methods. 3rd ed. CA: Sage.
Riis, O. & Woodhead, L. (2010). A Sociology of Religious Emotion. Oxford: Oxford University Press.
Rujikamolphong, E., & Luangalongkot, P. (2018). Quality of Work Life of Personnel at the Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University, 4(2), 161-177. Retrieved on October 29th, 2018, from https://www.tci-thaijo.org/index.php/ rpu/article/view/144260/106727. (in Thai)
Teddlie, C., & Tashakkori, A. (2009). Foundation of Mixed Methods Research: Integrating Quantitative and Qualitative Researches in Social and Behavioral Sciences. Thousand Oaks, CA: Sage.
Yana, T., Sirapanichkul. (2013). “Way to Good Community Health” Systematic Development by Universal Coverage in Local Area Manual. Nontburi: Community Helath Systems Research and Development Institute. (in Thai)
Yin, R.K. (2014). Case Study Research Design and Methods. 5th ed. CA: Sage.