ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจโรงแรมและที่พักในจังหวัดภูเก็ต

Main Article Content

ปิ่นรัตน์ สิริพันธ์พงศ์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจโรงแรมและที่พักในจังหวัดภูเก็ต ผลการวิจัย พบว่า ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจโรงแรมและที่พักในจังหวัดภูเก็ตทุกขนาดทั้งขนาดเล็ก (1 - 50 ห้อง) ขนาดกลาง (51 - 100 ห้อง) และขนาดใหญ่(101 - 1,000 ห้อง) พบว่า มีความรับผิดชอบต่อสังคมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก  (x̅ = 3.69, SD = 0.52) และเมื่อจาแนกตามขนาดโรงแรมและที่พักที่มีขนาดเล็กมีระดับความรับผิดชอบต่อสังคมในระดับปานกลาง (x̅ = 3.37, SD = 0.28) ส่วนโรงแรมและที่พักขนาดกลางมีระดับความรับผิดชอบต่อสังคมในระดับสูง (x̅ = 4.04, SD = 0.13) และโรงแรมและที่พักขนาดใหญ่มีระดับความรับผิดชอบต่อสังคมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.54, SD = 0.10) ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจโรงแรมและที่พักแต่ละขนาดมีความแตกต่างกันทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05

Article Details

How to Cite
สิริพันธ์พงศ์ ป. (2018). ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจโรงแรมและที่พักในจังหวัดภูเก็ต. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 3(3), 96–106. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/112628
บท
บทความวิจัย

References

กัญญรัตน์ หงส์วรนันท์ . (2555). การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม : กลยุทธ์และโอกาสขององค์กรธุรกิจประเทศกาลังพัฒนาในสังคมพลวัต. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิต, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2, หน้า 83-112.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2557). สานักงานภูเก็ต. ข้อมูลการแบ่งประเภทโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต. ค้นเมื่อ 4 มกราคม 2557,จาก http://www.tat.or.th/tourism/web/stat.php

ชุติมา วุ่นเจริญ. (2556). ความรับผิดชอบต่อสังคมกับธุรกิจโรงแรม. วารสารวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ปีที่ 30 ฉบับที่ 1, หน้า 143-158.

ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์. (2551). ระเบียบวิธีวิจัย. กรุงเทพฯ:เอ็กซเปอร์เน็ท.

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.

ปวีณา สินขาว. (2556). ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของ บริษัทไทยน้ำทิพย์ จำกัด จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญญบุรี.

สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม. (2551). เข็มทิศธุรกิจเพื่อสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ไอคอนพรินติ้ง.

สานิตย์ หนูนิล และคณะ. (2560). การพัฒนาโมเดลความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงกลยุทธ์เพื่อผลการดำเนินงานที่ยั่งยืนของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ, หน้า 168-182.

สำนักงานจังหวัดภูเก็ต. (2559) . บรรยายสรุปข้อมูลจังหวัดภูเก็ต. กลุ่มยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด, ค้นเมื่อ 16 มกราคม 2559,จาก http://www.phuket.go.th

Akekakun, T. (2000).Research Methodology of Behavior Science and Social Science. Ubon Ratchathani Rajabhat Institute:Publishing. (in Thai)

Best, John. W. (1981). Research In Education. 4thed. Englewood. Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.

Hongworanan, K. (2012). Corporate social responsibility :A strategy for businessopportunities social dynamics in developing countries.Dhurakij Pundit Communication ArtJournal, Vol. 6 No.2 p 83-112. (in Thai)

Likert, Rensis. (1967). “The Method of Constructing and Attitude Scale” Reading in Attitude Theory and Measurement. Fishbeic, Matin, New York: Wiley & Son.

Marina, Mattera and Alberto, Moreno-Melgarego. (2012). Strategic Implications of Corporate Social Responsibility in Hotel Industry: A Comparative Research Between NH Hotels and MeliaHotels International. Higher Learning Research.

Nunin, S. et al., (2016). The Development of Strategic Corporate social responsibility Model for Hotel Business is sustainable Performance in Thailand. Dusit Thani College Journal,Vol. 11 No special p.168-182. (in Thai)

Phopruksanan, N. (2008). Research Methodology. Bangkok: Explonet Publishing. (in Thai)

Phuket Provincial Governor’s office. (2016). Result of Phuket. Group of strategies and data for develop Phuket. Retrieved January 16, 2014, from http://www.phuket.go.th

Sinkwaw, P. (2013). Corporate social responsibility (CSR) affecting the corporate image of Thaimamtip company limited Pathumthani province.Thesis of Master of Business Administration,Makething Business Major,Rajamangala University of Technology Thanyaburi. (in Thai)

Thai CSR Network. (2560). 6 คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับ CSR. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2560, จาก http://www.thaicsr.com/2011/01/csr-3.html.

Tourism Authority of Thailand (TAT) Phuket. (2014). Data of separation Hotel and Accommodation in Phuket Province. Retrieved January 4, 2014, fromhttp://www.tat.or.th/tourism/web/stat.php (in Thai)

Wuncharhen, C . (2013).Corporate social responsibility in hotels business. Journal of management science, Vol. 30 No.1 p.143 -158. (in Thai)