การพัฒนาแบบฝึกทักษะการบรรเลงกีตาร์ฟิงเกอร์สไตล์สำหรับนักศึกษาเอกเครื่องสายสมัยนิยมหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

ผู้แต่ง

  • พุฒนันท์ เขตเจริญ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

แบบฝึกทักษะ, กีตาร์ฟิงเกอร์สไตล์, นักศึกษาเอกเครื่องสายสมัยนิยม

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบฝึกทักษะการบรรเลงกีตาร์ฟิงเกอร์สไตล์โดยใช้เทคนิคเพอคัสซีฟ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2) พัฒนาทักษะการบรรเลงกีตาร์ฟิงเกอร์สไตล์โดยใช้เทคนิคเพอคัสซีฟ ของนักศึกษาเอกเครื่องสายสมัยนิยม หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต เอกเครื่องสายสมัยนิยม ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด จำนวน 6 คน  เครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วย 1) แบบฝึกทักษะการบรรเลงกีตาร์ฟิงเกอร์สไตล์
สำหรับนักศึกษาเอกเครื่องสายสมัยนิยมชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 2) แบบประเมินการปฏิบัติทักษะเอกเครื่องสายสมัยนิยมชั้นปีที่ 3 รวบรวมข้อมูลโดยการบันทึก การสังเกต การสัมภาษณ์และการประเมินตามเกณฑ์ที่สร้างขึ้น สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า

            1) ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการบรรเลงกีตาร์ฟิงเกอร์สไตล์ โดยใช้เทคนิคเพอคัสซีฟมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.74/80.95 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2) การพัฒนาทักษะการบรรเลงกีตาร์ฟิงเกอร์สไตล์โดยใช้เทคนิคเพอคัสซีฟ
ของนักศึกษาเอกเครื่องสายสมัยนิยม หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ผ่านเกณฑ์
การประเมินร้อยละ 80 พบว่า วงรอบที่ 4 ซึ่งเป็นวงรอบสุดท้ายของการวิจัย นักศึกษาทั้งหมด 6 คน มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์
ร้อยละ 80 ทุกคน โดยมีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุดอยู่ที่ร้อยละ 85.71 สูงสุดอยู่ที่ 95.23

References

จิราภรณ์ ทองพูล, ปกรณ์ชัย สุพัฒน์, เมธี วิสาพรหม และจิตติมาภรณ์ สีหะวงษ์. (2563). การพัฒนาสมรรถนะในการอ่านคำ

ควบกล้ำด้วยการจัดการเรียนรู้ Active Learning รูปแบบ GWM ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนขุมคำวิทยา

สพป.ศก.1. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 14(1), 3-14.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 5-20.

นิตยา อินทรักษ์. (2551). ผลของการฝึกทักษะดูแลโดยใช้ตัวแบบวีดิทัศน์สำหรับผู้ดูแลต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแลผู้สูงอายุ โรคหลอดเลือดสมอง. วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

นวพรรษ ศุภวรางกูล และอุษณี ลลิตผสาน. (2565). การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา

เรื่องเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคผังกราฟิก.

วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 25(1), 38-49.

บพิตร เค้าหัน. (2561). แนวทางการเรียบเรียงเสียงประสานบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล

อดุลยเดชบรมนาถบพิตรตามระเบียบกรมราชเลขานุการในพระองค์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 12(2),

-281.

ภูวดล อัคนิถิน. (2556). การพัฒนาทักษะบรรเลงเครื่องดนตรีโดยใช้เทคนิคการสอนแบบมัลติมีเดีย. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยพายัพ.

เลิศ อานันทนะ. (2537). ทัศนคติใช้สื่อการสอนระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วรรณาภรณ์ พระเมเด, ไพศาล วรคำ และอาทิตย์ อาจหาญ. (2562). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย

เพื่อแก้ปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 13(3), 85-93.

วิมลรัตน์ สุนทรวิโรจน์. (2553). การออกแบบการเรียนรู้ตามแนวคิด Backward Design. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สัจธรรม พรทวีกุล. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานผสมผสานคิดไตร่ตรองเพื่อพัฒนาความสามารถในการกำกับการเรียนรู้ของตนเอง สำหรับนักศึกษาสาขาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 42(3), 69-83.

สันติ มุสิกา. (2565). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการปฏิบัติกีต้าร์เบื้องต้นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร. วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์, 7(2), 2009–2022.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2553). จิตวิทยาการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่9). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อธิวัฒน์ พรหมจันทร์ และอินทิรา รอบรู้. (2561). การพัฒนาชุดการเรียนการเล่นกีตาร์ขั้นพื้นฐานสำหรับนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทพวิทยา. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 12(3), 200–210.

ฮามีร อ่อนทอง, เอกชัย พุหิรัญ, พิมลมาศ พร้อมสุขกุล และรุ่งเกียรติ สิริวงษ์สุวรรณ. (2563). การจัดการเรียนการสอน

วิชากีตาร์เบสสมัยนิยมระดับอุดมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารสหศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล,

(2), 119-130.

Auciello, E. (2021). The Idiophonic Guitar: A Taxonomy and Performance Guide to Percussive Effects in

the Classical Guitar’s Solo Repertoire. Master of Philosophy Elder Conservatorium of Music

Faculty of Arts The University of Adelaide, 22-29.

Hirschelman, E. (2011). Acoustic Artistry: Tapping, Slapping, and Percussion Techniques for Classical &

Fingerstyle Guitar. Milwaukee: Halleonard Corporation.

Kellie, D. (2018). Advanceed Acoustic Fingerstyle Guitar. New York: Fundamental changes.

Kemmis, S and McTaggart, R. (1988). The Action Research Planer (3rd ed.). Victoria: Deakin University.

Rivera, M. (2018). The Percussive Acoustic Guitar Method. Madrid: Independently Publisher.

Chapman, R. (2003). The New Complete Guitarist. London: Dorling Kindsley.

Trinity, G. (2018). Guitar Syllabus. London: Trinity College London.

Woods, C. (2013). Percussive Acoustic Guitar. Milwaukee: Halleonard Corporation.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-30