การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง การใช้งานสแครชเบื้องต้น รายวิชาการออกแบบและพัฒนานวัตกรรม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

ผู้แต่ง

  • กัญญารัตน์ อู่ตะเภา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

คำสำคัญ:

สื่อวีดิทัศน์, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, การใช้งานสแครชเบื้องต้น

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินคุณภาพสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง การใช้งานสแครชเบื้องต้น 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ เรื่อง การใช้งานสแครชเบื้องต้น 3) ประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง การใช้งานสแครชเบื้องต้น กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการออกแบบและพัฒนานวัตกรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 35 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ 1) แบบประเมินคุณภาพสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง การใช้งานสแครชเบื้องต้น 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน 3) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบด้วยสถิติ The Wilcoxon Matches Pairs Signed Rank Test

              ผลการวิจัย 1) คุณภาพสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง การใช้งานสแครชเบื้องต้น ด้านเนื้อหาและการดำเนินเรื่อง ด้านภาพ
ด้านเสียงบรรยาย และด้านเทคนิคการนำเสนอ มีคุณภาพในระดับมากที่สุดทุกด้าน ภาพรวมมีคุณภาพในระดับมากที่สุด
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง การใช้งานสแครชเบื้องต้น ด้านเนื้อหา ด้านรูปแบบสื่อการเรียนรู้ และด้านการนำไปใช้ อยู่ในระดับมากทุกด้าน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก

References

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). แนวปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ประเทศไทย.

สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2565, จาก http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER17/DRAWER002/

GENERAL/DATA0002/00002647.PDF

กาญจนา ศิริเจริญวงศ์, มัณทนาวดี เมธาพัฒนะ, สุมาลา สว่างจิต และจักรกฤช ปิจดี. (2564). การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์และผล

ของการใช้สื่อต่อความรู้และความพึงพอใจเพื่อการเตรียมนักศึกษาพยาบาล ในการฝึกประสบการณ์เด็กและวัยรุ่น.

วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 37(1), 218-229.

ธวัชชัย สหพงษ์. (2563). ผลการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมตามรูปแบบ ADDIE Model ในรายวิชาการพัฒนา

สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนการสอน. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 7(2), 7-14.

ธัญญารัตน์ ทับทัน, พิทยวัฒน์ พันธะศรี และสุรกานต์ จังหาร. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้และทักษะปฏิบัตินาฏยศัพท์

เบื้องต้นและภาษาท่าทาง ตามแนวคิดของเดวีส์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ร้อยเอ็ด, 15(3), 153-162.

ทับทิมทอง กอบัวแก้ว. (2561). บทเรียนวีดิทัศน์กับประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์

สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วารสารครุศาสตร์สาร, 11(2),

-74.

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. (2565). มาตรการในการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ตามมาตรการ

ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

วัยวุฒิ บุญลอย, ธีรังกูร วรบำรุงกุล, มนตรี วิชัยวงษ์ และเริงวิชญ์ นิลโคตร. (2564). โควิด-19 กับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา

และสังคม. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 5(1), 44-57.

วิทเชษฐ พิชัยศักดิ์, เอกพจน์ ก่อวุฒิกุลรังสี และสุชีรา วิบูลย์สุข. (2563). การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ เรื่องการปวดหลังระดับเอว

สำหรับการเรียนรู้ ของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล. Siriraj Medical Bulletin, 9(3), 162–167.

สมดี อนันต์ปฏิเวธ, วารุณี ทับทิมทอง และอุไรวรรณ ซินมุข. (2564). การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ตามแนวคิด ADDIE Model

เรื่อง การพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีภาวะเสี่ยงสูง. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 14(4), 64-75.

สรรเพชร เพียรจัด. (2564). การพัฒนาสื่อเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชุมชนเขาอังคารบนฐานการมีส่วนร่วมของเยาวชน.

วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 16(2), 135-147.

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2564). ข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษาของประเทศไทย จำแนกตามเพศ สังกัด

และจังหวัด. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2565, จาก https://catalog.moe.go.th/dataset/dataset-15_39

สุดาพร ตงศิริ. (2560). ความพึงพอใจต่อการใช้สื่อวีดิทัศน์ และการเชิญวิทยากรบรรยาย ในการเรียนการสอน วิชา จป 111

(การประมงทั่วไป). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

สุรีพร ชาบุตรบุณฑริก, พระมหาวัฒนา สุรจิตฺโต, พระสิทธิชัย รินฤทธิ์, สมควร นามศรีฐาน, และชาตรี เพ็งทำ. (2565).

การพัฒนาสื่อดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ เรื่องภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ตามแนวคิด ADDIE Model. วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์, 8(2), 91-100.

อดิศร พึ่งศรี. (2560). การพัฒนาบทเรียนวีดิทัศน์ออนไลน์ วิชาถ่ายภาพ เรื่อง Advance Flash Photography. วิทยานิพนธ์

การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อดิศักดิ์ โคตรชุม. (2562). การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ เพื่อประกอบการเรียนรู้รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการจัด

และตกแต่งสวน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(2), 67-76.

Almelhi, A. (2021). Effectiveness of the ADDIE Model within an E-Learning Environment in Developing

Creative Writing in EFL Students. English Language Teaching, 14(20), 20-36.

Nada, A. (2015). ADDIE Model. Retrieved October 10, 2022, from: https://www.aijcrnet.com/journals/Vol 5

No 6 December 2015/10.pdf

Vagias, W. M. (2006). Likert-type scale response anchors. Retrieved October 10, 2022, from: http://media.

clemson.edu/cbshs/prtm/research/resources-for-research-page-2/Vagias-Likert-Type-Scale-

Response-Anchors.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-30