ชนชั้นกลางที่ “หมุนกลับ” กับประชาธิปไตย: ศึกษาเปรียบเทียบ ประเทศฟิลิปปินส์ ไทย และอียิปต์

Main Article Content

ศิวพล ชมภูพันธุ์

บทคัดย่อ

            บทความชิ้นนี้ต้องการย้อนพินิจบทบาทชนชั้นกลางกับระบอบประชาธิปไตยทั้งในเชิงทฤษฎีและเหตุการณ์เชิงประจักษ์ในโลกร่วมสมัยผ่านกรณีศึกษา 3 ประเทศ ได้แก่ ฟิลิปปินส์ ไทยและอียิปต์ ด้วยวิธีการศึกษาเชิงเอกสารและการเปรียบเทียบ การศึกษาชนชั้นกลางที่ผ่านมามักมีข้อเสนอว่าชนชั้นกลางเป็นหนึ่งในพลังสำคัญต่อกระบวนการทำให้เป็นประชาธิปไตย อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาพบว่า บทบาทของชนชั้นกลางเกิดการ “หมุนกลับ” จากที่เคยเป็นผู้ผลักดันและขับเคลื่อนการเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาธิปไตยมาเป็นกลุ่มผู้ปฏิเสธระบอบประชาธิปไตย ปรากฏการณ์ดังกล่าวเป็นผลมาจากการที่ชนชั้นกลางเป็นตัวแสดงที่ไม่มีความแน่นอนทางการเมืองหรือเป็นเพียงนักประชาธิปไตยโดยบังเอิญเท่านั้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

- กปปส.ใน กทม.และหลายจังหวัดเริ่มต่อต้านการเลือกตั้งล่วงหน้า. (2561). สืบค้นเมื่อ มกราคม 2, 2561, จาก https://prachatai.com/journal/2014/01/51413
- ชัยวัฒน์ ม่านศรีสุข. (2558). ชนชั้นกลางกับการเปลี่ยนสู่ประชาธิปไตย: ข้อสังเกตเบื้องต้น” รัฐศาสตร์ 33 ปี. นนทบุรี: สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
- ดาวราย ลิ่มส่ายหั้ว. (2559). การเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยในอาหรับ: ศึกษาเปรียบเทียบอียิปต์และอิหร่าน. วารสารสังคมศาสตร์, 46(2), หน้า 109-129.
- ธร ปีติดล. (2560). คนชั้นกลาง (บน) ผู้ไม่คุ้นเคยกับประชาธิปไตย. สืบค้นเมื่อธันวาคม 29, 2560, จาก http://www.aftershake.net/?p=880
- นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2560). คนชั้นกลางไทยกับประชาธิปไตย (1). สืบค้นเมื่อ มกราคม 10, 2561, จาก https://www.matichon.co.th/news/427692
- บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ. (2560). การเมืองไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
- มูนีเราะฮ์ ยีดำ. (2555). ชนชั้นกลางและประชาธิปไตย: มุมมองเชิงเปรียบเทียบประเทศไทยและฟิลิปปินส์ (วิทยานิพนธ์). สาขาวิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
- วรวิทย์ เจริญเลิศ. (2536). ชนชั้นกลางกับเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ: ฝ่ายประชาธิปไตยหรือรัฐปฏิการ. ใน สังศิต พิริยะรังสรรค์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร (บรรณาธิการ), ชนชั้นกลางบนกระแสประชาธิปไตย (หน้า 140-142). กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
- สังศิต พิริยะรังสรรค์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร (บรรณาธิการ). (2536). ชนชั้นกลางบนกระแสประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- สีดา สอนศรี. (2551). ฟิลิปปินส์: จากอดีตสู่ปัจจุบัน (ค.ศ. 1986-2006). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
- สีดา สอนศรี. (2552). ฟิลิปปินส์: การเมือง เศรษฐกิจและการต่างประเทศหลังวิกฤตเศรษฐกิจ (ค.ศ. 1997-2006). ใน สีดา สอนศรี (บรรณาธิการ), เอเชียตะวันออกเฉียงใต้: การเมือง เศรษฐกิจและการต่างประเทศ หลังวิกฤตเศรษฐกิจ (พ.ศ. 2540-2550) (หน้า 77). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
- อภิชาต สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตร และนิติ ภวัครพันธุ์. (2556). ทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
- เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2536). ม็อบมือถือ: ชนชั้นกลางและนักธุรกิจกับพัฒนาการประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: มติชน.
- Acemoglu, D. and Robinson, J. A. (2006). Economic origins of dictatorship and democracy. Cambridge: Cambridge
University Press.
- Ashraf El-Sherif. (2014). The Egyptian Muslim brotherhood’s failures: Part 1 of a series on political Islam in Egypt. Washington DC: Carnegie Endowment for International Peace Publications Department.
- Bunce, V. (2000). Comparative democratization: Big and bounded generalizations. Comparative Political Studies, 33(6-7), pp.703-734.
- Diamond, L. (2016). In search of democracy. New York: Routledge.
- Diamond, L. and Plattner, M. C. (Eds.) (2015). Democracy in decline? Baltimore: Johns Hopkins University Press.
- Foa, R. S. and Mounk, Y. (2017). The signs of deconsolidation. Journal of Democracy, 28(1), pp. 5-15.
- Fukuyama, F. (2014). Political order and political decay: From the industrial revolution to the globalization of democracy. London: Profile Books.
- Girling, J. (1981). Thailand: Society and politics. Ithaca: Cornell University Press.
- Huntington, S. P. (1991). The third wave: Democratization in the late twentieth century. Norman: University of Oklahoma Press.
- Kandil, H. (2012). Why did the Egyptian middle class march to Tahrir Square? Mediterranean Politics, 17(2), pp.197-215.
- Kurlantzick, J. (2013). Democracy in retreat: The revolt of the middle class and the worldwide decline of representative
government. New Haven: Yale University Press.
- Lipset, M. (1959). Some social requisites of democracy: Economic and development and political legitimacy. American Political Science Review, 53, pp.69-105.
- Moore, B. (1966). Social origins of dictatorship and democracy. Boston: Bacon Press.
- Norris, P. (2011). Democratic deficit: Critical citizens revisited. Cambridge: Cambridge University Press.
- Prajak Kongkirati. (2016). Thailand’s failed 2014 election: The anti-election movement, violence and democratic breakdown. Journal of Contemporary Asia, 46(3), pp. 467-485.
- Rivera, T. C. (2011). The middle classes and democratization in The Philippine: From the Asian crisis to the ouster of Estrada. In Abdul Rahman Embong (Ed.), Southeast Asian middle classes: Prospects for social change and democratization (pp.230-231). Bangi: Penerbit Universiti Kebangsaan Malaysia.
- Robinson, R. (1995). Emergence of the middle class in Southeast Asia. Murdoch: Asia Research Center on Social, Political and Economic Change.
- Rueschemeyer, D., Stephens, E. H. and Stephens, J. D. (1992). Capitalist development and democracy. Chicago: University Of Chicago Press.
- Sinpeng A. and Arugay, A. A. (2015). The middle class and democracy in Southeast Asia. In Case, W. (Ed.), Routledge Handbook of Southeast Asian democratization (pp.104-105). New York: Routledge.
- Smith, N. (2017). Marcos family considers returning loot as ‘Bongbong’ looks to Philippine presidency.” The Telegraph, 1 (September), Retrieved from http://www.telegraph.co.uk/news/2017/09/01/marcos-family-considers-returning-loot-bongbong-looks-philippine/
- Thompson, M. R. (2007). Reform after Reformasi: Middle class movements for good governance after democratic revolutions in Southeast Asia, Working paper No.21. Sweden: Centre for East and Southeast Asian Studies, Lund University.
- Xiaoqi, D. (2012). Political changes and the middle class in Egypt. Journal of Middle Eastern and Islamic Studies (in Asia), 6(2), pp.78-79.