พหุปัจจัยที่ส่งผลต่อทิศทางพัฒนาคุณภาพการจัดการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุสู่เกณฑ์มาตรฐาน

Main Article Content

อนุพงษ์ อินฟ้าแสง

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องพหุปัจจัยที่ส่งผลต่อทิศทางพัฒนาคุณภาพการจัดการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุสู่เกณฑ์มาตรฐาน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพหุปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุสู่เกณฑ์มาตรฐาน และ 2) เพื่อค้นหารูปแบบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพการจัดการสู่เกณฑ์มาตรฐานของธุรกิจดูแลผู้สูงอายุในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งทำการสำรวจความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารและผู้ปฏิบัติหน้าที่ในสถานธุรกิจดูแลผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกสมาคมส่งเสริมธุรกิจบริการผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย 206 แห่ง โดยผู้ตอบแบบสอบถามแห่งละ 2 ชุด รวมเป็นแบบสอบถามทั้งหมด 412 ชุด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถามที่ผ่านการหาค่าความชื่อมั่นของแบบสอบถามมากกว่า 0.70 จึงถือว่าข้อคำถามที่ใช้วัดตัวแปรแฝงมีความน่าเชื่อถือและสามารถนำไปใช้ในการวิจัยได้ ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เกี่ยวกับพหุปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการจัดการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุเท่ากับ 0.790 และค่าความน่าเชื่อถือของแบบสอบถามด้านความคิดเห็นเกี่ยวกับทิศทางเป้าหมายการพัฒนาสู่เกณฑ์มาตรฐาน เท่ากับ 0.749 โดยการสร้างแบบจำลองสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling : SEM) ผลการวิจัยพบว่าพหุปัจจัยที่ส่งผลต่อทิศทางพัฒนาคุณภาพการจัดการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุสู่เกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งเป็นพหุปัจจัยในเชิงบวก ที่ต้องนำมาพิจารณา 3 ตัวแปรประกอบด้วย สภาวะพฤติกรรมลูกค้าประเทศเป้าหมาย สภาวะปัจจัยในการเลือกใช้บริการ สภาวะการแข่งขันในประเทศ และรูปแบบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพการจัดการสู่เกณฑ์มาตรฐานของธุรกิจดูแลผู้สูงอายุค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research article)

References

บรรณานุกรม
กองส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ. (2562). พาณิชรับมือสังคมผู้สูงอายุ.....เร่งพัฒนาผู้ประกอบการดูแลผู้สูงอายุ. กองส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ กระทรวงพาณิช สิงหาคม.
Business Promotion and Development Division. (2019). Commerce responds to an aging society ..... Accelerate the development of elderly care entrepreneurs. Business Promotion and Development Division, Ministry of Commerce August.
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2561). คู่มือสถานดูแลผู้สูงอายุ. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์.
Department of Business Development. (2018). Handbook of elderly care centers. Department of Business Development Ministry of Commerce.
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2560). คู่มือเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการจัดการธุรกิจดูแลผู้สูงอายุ. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์.
Department of Business Development. (2017). A guidebook on quality standards for business management for the elderly. Department of Business Development Ministry of Commerce.
กาญจนา ปัญญาธร. (2557). “พฤติกรรมการดูแลผู้สูงอายุของผู้ดูแลและความพึงพอใจของผู้สูงอายุ” บ้านหนองตะไก้ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี, Journal Nursing and Health care. Vol.32, No.4, (October – December) 2014; 33-39
Panyathorn K. (2014) “Family caregiving of the elderly in Nongtaguy Village, Maung District Udonthani Province.”Ban Nong Takai, Mueang District, Udon Thani Province, Journal Nursing and Health care. Vol.32 No.4 (October-December) 2014; 33-39. (in Thai)
จิราวดี รัตนไพบูลย์ชัย. (2557). “ตลาดท่องเที่ยวผู้สูงอายุ :โอกาสใหม่ไทย AEC”. สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (ITD) ตีพิมพ์ : หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ปีที่ 3 ฉบับที่ 153 สิงหาคม 2557.
Rattanaphaibunchai J. (2014). "The elderly tourist market : New Opportunities, Thailand, AEC". International Institute for Trade and Development (ITD) Published: Bangkok Business Newspaper, Vol.3, No.153, August 2014. (in Thai)
ธิดารัตน์ เสาร์เรือน และกนกกาญน์ เสน่ นมะหุต. (2562). “การวิเคราะห์แบบจำลองเชิงโครงสร้างของการตัดสินใจเลือกใช้บริการศูนย์ดูแลในกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ (Baby Boomer)”, วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ. ปีที่ 10, ฉบับที่ 2, (July – December) 2019; 92-106. (in Thai)
Saorean T., Snae Namahoot K. “An anal ysis structural model of decision to use services care center of baby boomer generation”, Srinakharinwirot Business Jouranl (SBJ) Vol.10, No.2, (July – December) 2019; 92-106. (in Thai)
ธฤติมา อัญญะพรสุข (2559) “เรื่องปัจจัยและกระบวนการตัดสินใจเลือกเดินทางมาท่องเที่ยวประเทศไทยของนักท่องเที่ยววัยสูงอายุชาวยุโรป”, วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (2016): January - June (มกราคม - มิถุนายน 2559); 29-42.
Anyapornsuk T. (2016) “Factors affecting decision-making process of the senior tourists from Europe when choosing Thailand as a travel destination”, RMUTSB ACADEMIC JOURNAL (HUMANITIES AND SOCIAL SCIENCES). Vol.1, No.1, (January – June) 2016; 29-42. (in Thai)
นันท์นภัส ทรัพย์โชคธนกุล. (2557). รูปแบบและกลยุทธ์ดำเนินธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Subchoktanakul N. (2014). Formation and business strategy of nursing home services. Master of Business Administration Thesis. Silpakorn University. (in Thai)
ประชาชาติธุรกิจ. (2562). สวัสดี “สังคมสูงวัย”. 28 เมษายน 2562, จาก WWW.PRACHACHAT.COM.
Prachachat Business. (2019). Hello "Old society". 28 April 2019, from WWW.PRACHACHAT.COM. (in Thai)
พูลสุข นิลกิจศรานนท์ (2560) ธุรกิจดูแลผู้สูงอายุรับคลื่นลูกใหม่วัยสูงอายุ. Research Intelligence ธนาคารกรุงศรี, กรกฎาคม 2560.
Ninkitsaranont P. (2560). Business for the elderly, welcome the new wave of old age. Research Intelligence, Krungsri Bank, July 2017. (in Thai)
พรรษาทิพย์ อ่อนมิ่ง (2558). คุณภาพการบริการที่มีอิทธิพลต่อธุรกิจบริการทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Ornmang P. (2015). The Influence of Service Quality to Social Service Business for Elders in Bangkok. Independent research Master of Business Administration Degree Program. Rajamangala University of Technology Thanyaburi. (in Thai)
ริณทร์วสา ภัทร์พรวัชรสิน, ปริญญา หรุ่นโพธิ์ (2560) “แนวทางพฤติกรรมความสามารถของผู้สูงอายุในการดูแลตนเองทางด้านร่างกายและจิตใจ อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี”. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 "ราชมงคลสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0" (Creative RMUT and Sustainable Innovation for Thailand 4.0). สาขามนุษยศาสตร์ สังคมวิทยาและการศึกษา; 1502-1513.
Pornwacharasin R, Roonpho P. (2017). " The Behavior of the Elderly on Physically and Mentally Self-Caring in Amphoe Mueang, Pathum Thani Province ". 9th Rajamangala University of Technology Conference "Rajamangala creates sustainable innovation to Thailand 4.0" (Creative RMUT and Sustainable Innovation for Thailand 4.0). Humanities Sociology and education; 1502-1513. (in Thai)
ศันสนีย์ กระจ่างโฉม และ คณะ (2562). “แนวทางการพัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติในพื้นที่อารยธรรมลานนา”, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2562; 75-90.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (พ.ศ. 2560). แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 -2564). กรุงเทพฯ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
Office of the National Economic and Social Development Council. (2017). National Economic and Social Development Plan No. 12 (2017-2021). Bangkok. Office of the National Economic and Social Development Council.
Krajangchom S et al. (2019). “Uidelines for the Development of Tourism Activities for Senior Foreign Tourists in Lanna Civilization Zone”, University of the Thai Chamber of Commerce Journal Humanities and Social Sciences. Vol.39 No.3 July - September 2019; 75-90. (in Thai)
Nursing Home Upstream Village (2017) “ความแตกต่างของการดูแลผู้สูงอายุระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ” WWW.upstreamvillage.com,20 Nov. 2017.
Lee, Diana TF., Yu Doris & Kwong (2015) “Quality of life of alder people in residential care home: a literature review” Journal of Nursing and Healthcare of Chronic illness. May 2009. Retrieved on October 2015.
Schumacher & Lomax, 1996; Hair et al., (1998) A beginner’s guide to SEM. Lawrence Erlbaum. Associates, Manwah, New Jersey, USA.
TDRI (2562) “อะไรจะเปลี่ยนไป...เมื่อไทยเปลี่ยนเป็นสังคมผู้สูงอายุ” สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย วารสารรายงานทีดีอาร์ไอ ฉบับที่ 152 พฤษภาคม 2562.
Weinswing, D. (2016) The silver wave: Understanding the aging consumer . London, England : Fung Global Retail and Technology.