พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสตรีที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์

Main Article Content

วิลาวัลย์ ชูศรีวาส

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


 


         การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสตรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) ศึกษาประสิทธิผลของโรงเรียนที่มีผู้บริหารเป็นสตรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ และ 3) สร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้บริหารสตรีและครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 226 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม  ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและสร้างสมการเพื่อพยากรณ์ตัวแปรตาม โดยวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน


         ผลการวิจัยพบว่า


  1. 1. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสตรีและประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์  โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก

  2. 2. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสตรีกับประสิทธิผลของโรงเรียน  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์  มีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับสูงมาก  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01  มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) = .91

  3. 3. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสตรีที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ ประกอบด้วย  4 ด้าน  คือ  การติดต่อสื่อสาร (X3) การจูงใจ (X5) การมีมนุษยสัมพันธ์ (X1) และการบริหารแบบมีส่วนร่วม (X6)  โดยตัวแปรทั้งสี่ร่วมกันพยากรณ์ความแปรปรวนของประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ร้อยละ 880 เขียนเป็นสมการพยากรณ์ได้ดังนี้                             
              สมการพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยใช้คะแนนดิบ  คือ    Y´= .942 + .173X3 + .243X5 + .196X1 + .152X6

          สมการพยากรณ์ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยใช้คะแนนมาตรฐาน  คือ Z´y = .204ZX3 + .315ZX5 + .246ZX1 + .201ZX6

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research article)

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556).คลังเอกสารกลางกระทรวงศึกษาธิการ Data Center. ค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2559, จาก
http://www.moe.go.th/datacenter/
จันทรานี สงวนนาม. (2551). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ ฯ : บุ๊ค พอยท์.
ธนวรรธ ตั้งสินทรัพย์ศิริ. (2550). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร : ธนธัช.
ธร สุนทรายุทธ. (2553). การบริหารจัดการเชิงจิตวิทยา. กรุงเทพ ฯ : เนติกุลการพิมพ์.
นิษฐ์วดี จิรโรจน์ภิญโญ. (2556). พฤติกรรมการบริหารงานของผู้บริหารสตรี. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. (การบริหารการศึกษา).
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9 กรุงเทพฯ : บริษัท สุวีริยาสาส์น จำกัด.
ภัทราภรณ์ ประชานันท์. (2558). พฤติกรรมภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). ร้อยเอ็ด : มหาวิทยาลัยราชภัฎ
ร้อยเอ็ด.
มัณฑนา ภัคคุณานนท์, แน่งน้อย สร้อยน้ำ และจุมพล พูลภัทรชีวิน. (2559, มกราคม-เมษายน). อนาคตภาพภาวะผู้นำของ
ผู้บริหารสตรี โรงเรียนประถมศึกษาของไทยในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2557- 2567) วารสารนานาชาติ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6(1).
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม : ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
ราชการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : บุ๊คพอยท์.
รัตนาภรณ์ วงศ์ศรีอ่อน. (2557). พฤติกรรมการบริหารที่ทำให้เกิดประสิทธิผลการจัดการศึกษาตามการรับรู้ของครูกลุ่ม
โรงเรียนกรุงเทพกลาง. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม (การบริหารการศึกษา) : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สหไทย ไชยพันธุ์. (2555). แนวคิดทฤษฎีการพูดสื่อสารในสังคม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย นราธิวาสราชนครินทร์, 4(3).
สำนักงานกิจการสตรีและครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2550). บทบาทสตรีในปัจจุบัน.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
____________. (2552). วันสตรีสากล. ค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2559 จาก https://www.egov.go.th/th/government-
agency/104/
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 66 ระดับภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ. ค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560 จาก http://esan66.sillapa.net/sp-center/
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1. (2560). รายงานผลการทดสอบการทดสอบการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2559.
อคีราภ์รัตน์ วรรณรัตน์. (2556) .ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม (การบริหารการศึกษา)
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อินทวัชร ลี้จินดา. (2555). บทบาทของสตรี. นิตยสารยุทธโทษวารสาร, 120, 45-49.
อุบลรัตน์ ชรารัตน์ และ หทัย น้อยสมบัติ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผล
ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต3. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ร้อยเอ็ด. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม-ธันวาคม 2560. 12 ธ.ค.61, 173-182.

Translated Thai Reference

Chaiyapan S. (2012). Concepts and theories of Social communication. Journal of Princess of
Naradhiwas University, Thailand. 4(3). [in Thai]
Chararat U. and Noisombut H. (2017). The relationship between School Principals’ Competencies and the
Effectiveness of Schools under Roi Et Primary Education Service Area Office 3. Journal of Roi Et
Rajabhat University. 11 Vol.2 July-
December 2017. 12 December 2018, 173-182.
Jirarotpinyo N. (2013). Administrative behavior of women leaders. (Unpublished doctoral dissertation in
Educational Administration). Silpakorn University, Bangkok, Thailand. [in Thai]
Lee J. (2012). Role of women. Yutthod Warasarn magazine, 120, 45-49. [in Thai]
Medgaroonjit M. (2010). Participatory education management: people, local administrative organizations
and government agencies. . (3rd Ed.). Nonthaburi Book point publication. [in Thai]
Ministry of Education. (2013). Central document Ministry of Education. Retrieved 25 November 2016, from
http://www.moe.go.th/datacenter/. [in Thai]
Office of Women and Family Affairs, Ministry of Social Development and Human Security. (2007). Role of
women in a current time. Bangkok: Garn Sadsana Publication. [in Thai]
_____________. (2010).International Women's Day. Search in November, 2016 from
https://www.egov.go.th/th/government-agency/104/ [in Thai]
Office of the Basic Education Commission. (2017). The 66th Student Arts and Crafts Competition at the
Northeastern Level. Search on 23 June, 2017 from http://esan66.sillapa.net/sp-center/
Pakkunanon M., Soinam N. and Poonpatharashewin. (2016, January-April). Leadership future scenario of
women leaders in Thai primary schools in the next decade (2014-2024). International Journal,
Khon Kaen University, 6(1).
Prachanan P. (2015). Leadership Behavior of Women Leaders in Primary Schools under the Office of Roi-et
Primary Educational Service Area. (Unpublished master’s thesis in Educational Administration).
Roi Et Rajabhat University, Roi Et, Thailand. [in Thai]
Sa-nguan J. (2008). Theories and practices in educational administration. (2nd Ed.). Bangkok: Book point
Publisher. [in Thai]
Soontarayut T. (2010). Psychological management. Bangkok: Natikul Printing. [in Thai]
Srisaart B. (2013). Basic Research. (2nd Ed.). Bangkok: Suveeriyasan Co. Ltd. [in Thai]
Tangsinsabsiri T. (2007). Organizational behavior. Bangkok: Tanatuch Publisher. [in Thai]
The Office of Kalasin Primary Educational Service Area 1. (2017). The basic education national test report
in academic year 2016. [in Thai]
Wannarat A. (2013). Administrative factors affecting effectiveness of the opportunity expansion
schools under the Office of Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area 6.
(Unpublished master’s thesis in Educational Administration). Khon Kaen University, Khon Kaen,
Thailand. [in Thai]
Wongsrion R. (2014). Administrative behaviors affecting educational effectiveness according to teachers’
perceptions in middle Bangkok schools cluster. (Unpublished master’s thesis in Educational
Administration). Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand. [in Thai]