การรับรู้ และปัจจัยที่มีต่อความต้องการใช้บริการจัดส่งสินค้าจากร้านปลีกสมัยใหม่

Main Article Content

ธีรวีร์ วราธรไพบูลย์
โสพิศ คำนวณชัย

บทคัดย่อ

     การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ของผู้บริโภค ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการใช้บริการการจัดส่ง และเพื่อเปรียบเทียบความต้องการการจัดส่งสินค้าของร้านค้าปลีกสมัยใหม่ การวิจัยครั้งนี้ กำหนดประชากรที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1,000 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริโภครับรู้รูปแบบการบริการจัดส่งสินค้าทางไปรษณีย์มากที่สุด ร้อยละ 79.5 และรับรู้การจัดส่งจากร้านค้าปลีกเพียงร้อยละ 4.0 และปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการใช้บริการจัดส่งสินค้าจากร้านค้าปลีก ได้แก่ ปัจจัยด้านความประหยัด ความสะดวกสบาย และความรวดเร็ว และเมื่อเปรียบเทียบความต้องการของผู้บริโภคจาก 5 ร้านค้าปลีก พบว่า ผู้บริโภคแต่ละร้านค้าปลีกสมัยใหม่มีความต้องการการบริการต่อการจัดส่งสินค้าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 0.05

Article Details

How to Cite
วราธรไพบูลย์ ธ., & คำนวณชัย โ. (2019). การรับรู้ และปัจจัยที่มีต่อความต้องการใช้บริการจัดส่งสินค้าจากร้านปลีกสมัยใหม่. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 6(1), 143–156. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/msj/article/view/204181
บท
บทความวิจัย

References

กรมการค้าภายใน, กระทรวงพาณิชย์. (2557). สำนักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า. สืบค้นเมื่อพฤษภาคม 16, 2557. จาก http://www.dit.go.th/.
กษมา ทับทิมทอง และคณะ. (2543). ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานกิจการของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในเขต อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. เพชรบุรี: สำนักพิมพ์แห่งราชภัฏเพชรบุรี.
ดวงพร เศาภายน. (2546). เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริโภคในการใช้บริการร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม (ร้านโชห่วย) กับร้านค้าปลีกสมัยใหม่ (ร้านสะดวกซื้อ) ในเขตกรุงเทพมหานคร.(วิทยานิพนธ์ บธ.ม., สถาบันราชภัฏสวนดุสิต, กรุงเทพมหานคร).
นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี. (2538). ระเบียบวิธีวิจัยธุรกิจ, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์พัฒนาเศรษฐกิจไทยพาณิช, (2554). รายงานประจำปีธนาคารไทยพาณิชย์ ปี 2553. กรุงเทพฯ.
ศูนย์พัฒนาเศรษฐกิจไทย กระทรวงพาณิชย์. (2554). สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 8, 2556. จาก http://www.dbd.go.th.
สมวงศ์ พงศ์สถาพร. (2550). เคล็ดไม่ลับการตลาดบริการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ยูบีซีแอลบุ๊คส์.
สมาคมผู้ค้าปลีกแห่งประเทศไทย. (2554). แนวโน้มธุรกิจค้าปลีกในปี 2554. สืบค้นเมื่อตุลาคม 12, 2559.จาก http://theretail.wordpress.com.
Alexander Hübner. (2017). A decision support system for retail assortment planning, International Journal of Retail & Distribution Management, 45(7/8), 808 - 825.
Buzzell, Robert D., and Bradley, T. Gale. (1987). The PIMS Principles. New York: The Free Press.
Fox, Edward Joseph. (1999). Analysis of Household Shopping Behavior across Retail Formats.Ph.D. dissertation, University of Pennsylvania.
Hawkins, Del I.; Best, Roger J.; and Coney, Kenneth A. (1992). Consumer Behavior. Fifth Edition.Massachusetts: Richard D. Irwin.
Knee, C. (2002). Learning from experience: Zve challenges for retailers, International Journal of Retail & Distribution Management, 30(11), 518 - 29.
Parasuraman, A. (1988). Marketing Research. California: Addison-Wesley Publishing.
Parasuraman, A., Zeithaml, V., and Berry., L L. (1988). Refinement and Reassessment of the SERVQUAL Scale. Journal of Retailing, (67), 420 - 450.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. & Berry, L. L. (1990). Delivering quality service: Balancing Customer Percept ions and Expectations. New York: The Free Press.
Shamim, A. & Butt, M. M. (2013). “A critical model of brand experience consequences”. Asia Pacific Journal of Marketing and Logistics, 25(1), 102 - 117.