การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการออกแบบการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมในงานวิจัย

Main Article Content

ณรงค์ ทีปประชัย

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งนำเสนอสาระเกี่ยวกับแนวคิดพื้นฐานในการสุ่มตัวอย่าง และการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการออกแบบการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมในงานวิจัย โดยจะกล่าวถึงลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี กระบวนการสุ่มตัวอย่างการกำหนดขนาดตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่าง และการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการสุ่มตัวอย่าง ได้แก่ การใช้งานโปรแกรม Excel for Windows สำหรับสร้างแบบสุ่มตัวอย่างแบบง่าย และการใช้งานโปรแกรม G*Power สำหรับคำนวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ถูกต้องและทันสมัยเป็นสากล ซึ่งแต่ละโปรแกรมดังกล่าวนั้นมีลักษณะเฉพาะและมีวิธีการใช้งานที่แตกต่างกัน ผู้วิจัยต้องพิจารณาเลือกนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานวิจัย เพื่อให้การสุ่มตัวอย่างมีความถูกต้อง สะดวก รวดเร็ว ประหยัดทั้งเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่าย อันจะส่งผลทำให้การเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลมีความรวดเร็ว ถูกต้อง และได้ผลการวิจัยที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้

Article Details

How to Cite
ทีปประชัย ณ. (2023). การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการออกแบบการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมในงานวิจัย. วารสารการวัด ประเมินผล สถิติ และการวิจัยทางสังคมศาสตร์, 4(2), 1–23. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/mesr/article/view/272506
บท
บทความวิชาการ

References

กัญญ์สิริ จันทร์เจริญ. (2566). การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง. มหาวิทยาลัยศรีปทุม. https://elearning.psru.ac.th/courses/181/file5.pdf.

คณาจารย์ศูนย์วิชาการประเมินผล สำนักทะเบียนและวัดผล. (2546). หลักการและแนวทางการประเมินโครงการ. นนทบุรี:

โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2543). พรหมแดนความรู้ด้านการวิจัยและสถิติ. ชลบุรี: วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

นิพิฐพนธ์ สนิทเหลือ, วัชรีพร สาตร์เพ็ชร์ และญาดา นภาอารักษ์. (2565). การคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป G*Power. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นอร์ทเทิร์น, 3(1), 1-16, https://he03.tci-haijo.org/index.php/scintc/article/view/1088/845

นิภา ศรีไพโรจน์. (2531). หลักการวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศึกษาพร.

บุญชม ศรีสะอาด. (2538). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์.

สุวิมล ติรกานันท์. (2542). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย. (2546). แนวทางการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Cohen, J. (1977). Statistical power for the behavioral sciences. (2nd ed.) New York: Academic Press.

Faul, F. (2022). G*Power version 3.1.9.2 (Internet). https://www.poycho.uni-duessldorf.de/abteilungen/

aap/gpower3/

Kendall, L.M., Smith, P.C. (1969). The measurement of satisfaction in work and retirement. Chicago: Rand-McNally.

Krejcie, R.V., and Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research activi-ties. Educational and Psychological Measurement. 30, 607-610.

Neuman, W.L. (1997). Social Research Method: Qualitative and quantitative approaches. (3rd ed.) Boston: Allyn and Bacon.

Yamane, T. (1973). Statistics: an introductory analysis. New York: Harper and Row.