รูปแบบการดำเนินชีวิตและพฤติกรรมการบริโภคตราสินค้าของเจเนอเรชั่นมี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจรูปแบบการดำเนินชีวิตและพฤติกรรมการบริโภคตราสินค้าของเจเนอเรชั่นมี ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจแบบวัดครั้งเดียว โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชั่นมีทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีอายุตั้งแต่ 18-48 ปี ในกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 400 คน ซึ่งข้อมูลที่ได้จะนำไปประมวลผลด้วยโปรแกรม SPSS for Windows และทำการวิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จัดกลุ่มรูปแบบการดำเนินชีวิตด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยหรือตัวประกอบ ผลการวิจัยพบว่า
- รูปแบบการดำเนินชีวิตของเจเนอเรชั่นมีแบ่งออกเป็น 7 กลุ่ม ดังนี้ 1) รูปแบบการดำเนินชีวิตแบบมองโลกในแง่ดี 2) รูปแบบการดำเนินชีวิตแบบดูดีมีสไตล์ 3) รูปแบบการดำเนินชีวิตแบบคนดีรุ่นใหม่ 4) รูปแบบชีวิตแบบมุ่งมั่นเพื่อความสำเร็จ 5) รูปแบบการดำเนินชีวิตแบบเฮฮาปาร์ตี้ 6) รูปแบบชีวิตแบบไม่มีโรคคือลาภอันประเสริฐ และ 7) รูปแบบชีวิตแบบเสพติดสื่อ
- พฤติกรรมการบริโภคตราสินค้าของเจเนอเรชั่นมีพบว่าตราสินค้าที่เจเนอเรชั่นมีใช้ส่วนใหญ่จะเป็นตราสินค้าเดียวกันกับตราสินค้าที่ชื่นชอบแสดงให้เห็นว่าเจเนอเรชั่นมีมักจะเลือกใช้ตราสินค้าที่ตัวเองชื่นชอบ อย่างไรก็ตามหากประเภทสินค้ามีระดับความเกี่ยวพันสูงอย่างรถยนต์เจเนอเรชั่นมีจะชื่นชอบตราสินค้าที่มีภาพลักษณ์และราคาที่สูงกว่าตราสินค้าที่ใช้ซึ่งผลการวิจัยที่ดังกล่าวมีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของเจเนอเรชั่นมีอย่างแท้จริง
Article Details
บท
Articles
References
ภาษาไทย
กรุงเทพธุรกิจ. (2556). Gen me. วันที่เข้าถึงข้อมูล 12 กรกฎาคม 2561, แหล่งที่มา https://www.bangkokbiznews.com/
blog/detail/530474
ชูชัย สมิทธิไกร. (2561). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธงชัย สันติวงษ์. (2539). พฤติกรรมผู้บริโภคทางการตลาด. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2558). เปิดพฤติกรรม Gen me นักช้อปแห่งยุค ซื้อหนัก ซื้อเร็ว. วันที่เข้าถึงข้อมูล 12 กรกฎาคม 2561, แหล่งที่มา https://www.prachachat.net/news_ detail.php?newsid=1446702786
ปริญ ลักษิตานนท์. (2544). จิตวิทยาและพฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ทิปปิ้ง พอยท์ จำกัด.
ไพบูลย์ เทวรักษ์. (2537). จิตวิทยา : ศึกษาพฤติกรรมภายนอกและภายใน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ เอส.ดี.เพรส.
มณีรัตน์ ตันติคุณารักษ์. (2544). ความเกี่ยวพันและพฤติกรรมผู้บริโภคต่อตราสินค้าบุกเบิก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการโฆษณา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มาร์เก็ตเธียร์. (2558). จับ Gen me ให้อยู่หมัด ด้วยโมเดล E to I ตามสไตล์ อ. ธีรพันธ์ ตอนที่ 1. วันที่เข้าถึงข้อมูล
12 กรกฎาคม 2561, แหล่งที่มา https://marketeeronline.co/ archives/29289
มาร์เก็ตเธียร์. (2558). จับ Gen me ให้อยู่หมัด ด้วยโมเดล E to I ตามสไตล์ อ. ธีรพันธ์ ตอนที่ 2. วันที่เข้าถึงข้อมูล 12 กรกฎาคม 2561, แหล่งที่มา https://marketeeronline.co/ archives/29271
มาร์เก็ตเธียร์. (2559). 9 กลยุทธ์ พิชิต Gen me. วันที่เข้าถึงข้อมูล 12 กรกฎาคม 2561, แหล่งที่มา https://marketeeronline.co/archives/25690
รักษพล ธนานุวงศ์. (2556). การพัฒนาเด็กเก่ง Generation me me me. บทความตีพิมพ์ห้องสมุดสสวท., 41(184), 29-32.
วิทยา ชีวรุโณทัย. (2555). รักและผูกพันเจเนอเรชันแซด. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ฐานบุ๊คส์.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน). (2561). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561. วันที่เข้าถึงข้อมูล 4 กุมภาพันธ์ 2561, แหล่งที่มา https://www.etda.or.th/content/etda-reveals-thailand-internet-user-profile-2018.html
สิทธิโชค วรานุสันติกูล. (2531). จิตวิทยา : การจัดการพฤติกรรมมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อักษราพิพัฒน์ จำกัด.
อดุลย์ จาตุรงคกุล และ ดลยา จาตุรงคกุล. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อัศน์อุไร เตชะสวัสดิ์. (2547). พฤติกรรมการบริโภค. นนทบุรี: บริษัท ซี.วี.แอล. การพิมพ์.
ภาษาอังกฤษ
Assael, H. (1998). Consumer behavior and marketing action (6th ed.). Cincinnati, OH: South-Western College.
Mittal, B. (2006). Measuring purchase-decision involvement. Psychology & Marketing, 6(2), 147-162, doi:10.1002/mar.4220060206
Sathish, S. & Rajamohan, A. (2012). Consumer behavior and lifestyle marketing. International Journal of Marketing, Financial Service & Management Research, 1(10), 152-166.
Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L. (2004). Consumer behavior (8th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Solomon, M. R. (2012). Consumer behavior: Buying, having, and being (10nd ed.). Harlow, UK: Pearson Education Limited.
Solomon, M. R. (2018). Consumer behavior: Buying, having, and being (12nd ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.
กรุงเทพธุรกิจ. (2556). Gen me. วันที่เข้าถึงข้อมูล 12 กรกฎาคม 2561, แหล่งที่มา https://www.bangkokbiznews.com/
blog/detail/530474
ชูชัย สมิทธิไกร. (2561). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธงชัย สันติวงษ์. (2539). พฤติกรรมผู้บริโภคทางการตลาด. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2558). เปิดพฤติกรรม Gen me นักช้อปแห่งยุค ซื้อหนัก ซื้อเร็ว. วันที่เข้าถึงข้อมูล 12 กรกฎาคม 2561, แหล่งที่มา https://www.prachachat.net/news_ detail.php?newsid=1446702786
ปริญ ลักษิตานนท์. (2544). จิตวิทยาและพฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ทิปปิ้ง พอยท์ จำกัด.
ไพบูลย์ เทวรักษ์. (2537). จิตวิทยา : ศึกษาพฤติกรรมภายนอกและภายใน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ เอส.ดี.เพรส.
มณีรัตน์ ตันติคุณารักษ์. (2544). ความเกี่ยวพันและพฤติกรรมผู้บริโภคต่อตราสินค้าบุกเบิก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการโฆษณา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มาร์เก็ตเธียร์. (2558). จับ Gen me ให้อยู่หมัด ด้วยโมเดล E to I ตามสไตล์ อ. ธีรพันธ์ ตอนที่ 1. วันที่เข้าถึงข้อมูล
12 กรกฎาคม 2561, แหล่งที่มา https://marketeeronline.co/ archives/29289
มาร์เก็ตเธียร์. (2558). จับ Gen me ให้อยู่หมัด ด้วยโมเดล E to I ตามสไตล์ อ. ธีรพันธ์ ตอนที่ 2. วันที่เข้าถึงข้อมูล 12 กรกฎาคม 2561, แหล่งที่มา https://marketeeronline.co/ archives/29271
มาร์เก็ตเธียร์. (2559). 9 กลยุทธ์ พิชิต Gen me. วันที่เข้าถึงข้อมูล 12 กรกฎาคม 2561, แหล่งที่มา https://marketeeronline.co/archives/25690
รักษพล ธนานุวงศ์. (2556). การพัฒนาเด็กเก่ง Generation me me me. บทความตีพิมพ์ห้องสมุดสสวท., 41(184), 29-32.
วิทยา ชีวรุโณทัย. (2555). รักและผูกพันเจเนอเรชันแซด. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ฐานบุ๊คส์.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน). (2561). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561. วันที่เข้าถึงข้อมูล 4 กุมภาพันธ์ 2561, แหล่งที่มา https://www.etda.or.th/content/etda-reveals-thailand-internet-user-profile-2018.html
สิทธิโชค วรานุสันติกูล. (2531). จิตวิทยา : การจัดการพฤติกรรมมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อักษราพิพัฒน์ จำกัด.
อดุลย์ จาตุรงคกุล และ ดลยา จาตุรงคกุล. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อัศน์อุไร เตชะสวัสดิ์. (2547). พฤติกรรมการบริโภค. นนทบุรี: บริษัท ซี.วี.แอล. การพิมพ์.
ภาษาอังกฤษ
Assael, H. (1998). Consumer behavior and marketing action (6th ed.). Cincinnati, OH: South-Western College.
Mittal, B. (2006). Measuring purchase-decision involvement. Psychology & Marketing, 6(2), 147-162, doi:10.1002/mar.4220060206
Sathish, S. & Rajamohan, A. (2012). Consumer behavior and lifestyle marketing. International Journal of Marketing, Financial Service & Management Research, 1(10), 152-166.
Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L. (2004). Consumer behavior (8th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Solomon, M. R. (2012). Consumer behavior: Buying, having, and being (10nd ed.). Harlow, UK: Pearson Education Limited.
Solomon, M. R. (2018). Consumer behavior: Buying, having, and being (12nd ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.