ปัจจัยเชิงสาเหตุในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้สูงอายุไทย

Main Article Content

รุจินันท์ เอื้อพิทักษ์สกุล
ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานะทางเศรษฐกิจ รูปแบบการดำเนินชีวิต การสื่อสารการตลาด คุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ ความไว้วางใจ และการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้สูงอายุไทย รวมถึงปัจจัยที่อธิบายการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้สูงอายุไทย ตลอดจนเพื่อพัฒนาแบบจำลองเชิงโครงสร้างของปัจจัยเชิงสาเหตุในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้สูงอายุไทย และเพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของแบบจำลองเชิงโครงสร้างปัจจัยเชิงสาเหตุในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้สูงอายุไทยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณด้วยการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลกับผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์และเคยซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ จำนวน 300 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติในการวิเคราะห์องค์ประกอบ และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยที่สามารถอธิบายการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้สูงอายุไทยคือ ความไว้วางใจ โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงเชิงบวกและมีค่าอิทธิพลโดยรวมสูงที่สุดต่อการตัดสินใจซื้อ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2) แบบจำลองเชิงโครงสร้างปัจจัยเชิงสาเหตุในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้สูงอายุไทยที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ เนื่องจากค่าดัชนีความสอดคล้องของโมเดลผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้มากกว่า 3 ดัชนีขึ้นไป โดยการตรวจสอบความสอดคล้องที่ผ่านเกณฑ์ดัชนีมีดังนี้ 1) Relative Chi-square = 1.855 (น้อยกว่า 3.00) 2) Comparative Fit Index = 0.951 (มากกว่า 0.90) 3) Non-normed Fit Index = 0.902 (มากกว่า 0.90) 4) Non-normed Fit Index = 0.940 (มากกว่า 0.90) 5) Incremental Fit Index = 0.952 (มากกว่า 0.90)

Article Details

บท
Articles

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2564). เทรนด์สุขภาพหนุน “อินเตอร์ฟาร์มา” โตเร่ง รุกผนึกพันธมิตร เสริมแกร่งปลายน้ำ. วันที่เข้าถึงข้อมูล 28 กุมภาพันธ์ 2565, แหล่งที่มา https://www.bangkokbiznews.com/business/960426

กรุงเทพธุรกิจ. (2564). นิวนอร์มอลผู้สูงอายุหลังโควิด-19 โอกาสทองสินค้า-บริการ. วันที่เข้าถึงข้อมูล 6 พฤศจิกายน 2564, แหล่งที่มา https://www.bangkokbiznews.com/business/928570

กุณฑลี รื่นรมย์. (2563). แบรนด์องค์กรและการประเมินค่าแบรนด์องค์กร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพ ฯ : ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2562). พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธธีร์ธร ธีรขวัญโรจน์ และสุพจน์ กฤษฎาธาร. (2563). การตลาดบริการ. กรุงเทพ ฯ : วีพริ้นท์.

นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2555). การสื่อสารการตลาด. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นันทพร ชเลจร. (2563). ตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, 15(2), 159-172.

ปาณิศา ศรีละมัย และศุภชาต เอี่ยมรัตนกูล. (2561). อิทธิพลของความไว้วางใจที่มีต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดผิวหน้าที่มีส่วนผสมจากธรรมชาติ ผ่านร้านค้าปลีก. วารสาร สหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 7(2), 69–78.

ปาริชาติ บุญเอก. (2564). ส่องธุรกิจน่าจับตารับ “สังคมสูงวัย”. วันที่เข้าถึงข้อมูล 10 พฤศจิกายน 2564, แหล่งที่มา https://www.bangkokbiznews.com/news/932365

พธิดา โขงรัมย์. (2563). การรับรู้การสื่อสารการตลาดของธุรกิจร้านเช่าชุดราตรีในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 5(3), 163-178.

พนม คลี่ฉายา. (2564). การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของผู้สูงอายุและข้อเสนอเพื่อการเสริมสร้างภาวะพฤฒิพลังและผลิตภาพของผู้สูงอายุไทย. วารสารนิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 39(2), 56–78.

ภูษณ สุวรรณภักดี และวิลาวัลย์ จันทร์ศรี. (2561). อิทธิพลของความไว้วางใจ ทัศนคติ และส่วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดสงขลา. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 10(2), 21-38.

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2556). การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วย AMOS. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ลลิตา พ่วงมหา และพัชนี เชยจรรยา. (2560). โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุความภักดีของลูกค้าชาวไทยต่อธุรกิจอี-คอมเมิร์ซ. วารสารศรีปทุมปริทัศน์, 18(2), 76-85.

วิทยา จารุพงศ์โสภณ. (2557). กลยุทธ์การบริหารแบรนด์. กรุงเทพ ฯ : แปลน พริ้นติ้งท์.

วันเพ็ญ พุทธานนท์. (2563). เปิด 20 อันดับ “เว็บไซต์ข่าวธุรกิจ” เดือนมิถุนายน 2563. วันที่เข้าถึงข้อมูล 29 มิถุนายน 2565, แหล่งที่มา https://www.thebangkokinsight.com/news/business/399851/

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2561). ตลาดผู้สูงวัย ขุมทอง SME ไทย. วันที่เข้าถึงข้อมูล 10 พฤศจิกายน 2564, แหล่งที่มา

https://kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/Aging-Market_SME-Treasure_2018.pdf

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2566). อนาคตของผู้สูงอายุไทย. วันที่เข้าถึงข้อมูล 19 สิงหาคม 2566, แหล่งที่มา https://www.thaihealthreport.com/th/articles_detail.php?id=155

สุจรรยา น้ำทองคำ และพัชนี เชยจรรยา. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อทางสื่อออนไลน์ของผู้บริโภค. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 10(2), 121-135.

สุดาพร กุณฑลบุตร. (2563). การบริหารการตลาด เทคโนโลยีการตลาด. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพ ฯ : สามลดา.

สังวร งัดกระโทก. (2563). โมเดลสมการโครงสร้างสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (เอกสารประกอบการสอน). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2564). หลักสูตรผู้สูงวัยดิจิทัล ของขวัญรับปีใหม่ 2565. วันที่เข้าถึงข้อมูล 19 สิงหาคม 2566, แหล่งที่มา https://www.thaihealth.or.th/หลักสูตรผู้สูงวัยดิจิท/

สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า. (2565). เจาะตลาดสินค้าผู้สูงวัย รับเมกะเทรนด์. วันที่เข้าถึงข้อมูล 19 สิงหาคม 2566, แหล่งที่มา http://www.tpso.moc.go.th/th/node/11520

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). ภาพรวมของธุรกิจ e-Commerce จากการแพร่ระบาดของ Covid-19 ทั่วโลก. วันที่เข้าถึงข้อมูล 6 พฤศจิกายน 2564, แหล่งที่มา https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Perspective-on-Future-of-e-Commerce.aspx

อรพรรณ มุ่งหมาย และบุญฑวรรณ วิงวอน. (2560). การสื่อสารการตลาด การรับรู้ตราสินค้าและความพึงพอใจที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้าธนาคารออมสิน สาขาเซ็นทรัลพลาซา ลำปาง. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 7(2), 140-150.

อัมพล ชูสนุก, วิศรุต นาคะเกศ, ฉวีวรรณ ชูสนุก และวิทยา ภัทรเมธากุล. (2560). อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักดีของลูกค้าบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 7(1), 33-43.

เอริสา ยุติธรรมดำรง. (2563). การสื่อสารการตลาด 4.0: ความท้าทายของผู้ประกอบการธุรกิจอาหารเสริมและเครื่องดื่มสุขภาพสำหรับผู้บริโภคสูงอายุ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 8(1), 184-197.

Aaker, D. A. (1991). Managing brand equity: Capitalizing on the value of a brand name. New York: The Free Press.

Borum, R. (2010). The science of interpersonal trust. Retrieved August 19, 2023 from https://digitalcommons.usf.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1573&context=mhlp_facpub

Brunello, A. (2013). The relationship between integrated marketing communication and brand equity. International Journal of Communication Research. 3(1), 9-14.

Che, J. W., Cheung, C. M., & Thadani, D. R. (2017, January). Consumer purchase decision in Instagram stores: The role of consumer trust. In Proceedings of the 50th Hawaii International Conference on System Sciences. 24-33.

Gajjar, N. B. (2013). Factors Affecting Consumer Behavior. International Journal of Research in Humanities and Social Sciences. 1(2), 10-15.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis: A global perspective. Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.

Hawkins, D. I. & Mothersbaugh, D. L. (2013). Consumer behavior: Building marketing strategy. (12th ed). New York: McGraw-Hill.

Kasper, H., Helsdingen, P. V. & Vries, W. (1999). Services marketing management: An international perspective. Chichester, England: John Wiley & Sons.

Kholis, N. & Ma'rifa, A. (2021). The Influence of price and income on purchase decisions among fast-food consumers: the mediating effect of lifestyle. Proceeding book of International e-Conference on Business Management (e-ICBM2021), 94-103.

Kim, M. J., Chung, N. & Lee, C. K. (2011). The effect of perceived trust on electronic commerce: shopping online for tourism products and services in South Korea. Tourism Management. 32(2), 256–265.

Kotler, P. & Keller, K. L. (2016). Marketing management. (15th ed). UK: Prentice Hall.

Maney, K. L. & Mathews, S. (2021). A study of the impact of lifestyle on consumer purchase decision of young Indians. AIMS International Journal of Management. 15(2), 89-99.

Mayer, R. C., Davis, J. H., & Schoorman, F. D. (1995). An integrative model of organizational trust. Academy of management review. 20(3), 709-734.

McKnight, D. H., Choudhury, V. & Kacmar, C. (2002). Developing and validating trust measures for e-commerce: An integrative typology. Information Systems Research. 13(3), 334-359.

Neal, C., Quester, P. G. & Hawkins, D. I. (2004). Consumer behavior: Implications for marketing strategy. (4th ed). Boston: McGraw-Hill.

Nguyen, X. T. (2019). Factors impacting on Korean consumer goods purchase decision of Vietnam’s generation Z. Journal of Distribution Science. 17(10), 61-71.

Pemani, P. O. S., Massie, J. D. D. & Tielung, M. V. J. (2017). The effect of personal factors on consumer purchase decision (case study: Everbest Shoes). Jurnal EMBA: Jurnal Riset Ekonomi, Manajemen, Bisnis Dan Akuntansi. 5(1), 68-77.

Pinki, R. (2014). Factors influencing consumer behavior. International Journal of Current Research and Academy Review. 2(9), 52-61.

Qazzafi, S. (2020). Factor affecting consumer buying behavior: A conceptual study. International Journal for Scientific Research & Development. 8(2), 1205-1208.

Solomon, M. R. (2013). Consumer behavior buying, having, and being. (10th ed). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.

Solomon, M. R. (2020). Consumer Behavior buying, having, and being. (13th ed). Harlow, UK: Pearson Education.

Tanveer, Z., & Lodhi, R. N. (2016). The effect of brand equity on customer satisfaction: An empirical study based on David Aaker's Brand Equity Model. IUP Journal of Brand Management, 13(3), 43-54.

United Nations. (2020). World population ageing 2020. Retrieved August 19, 2023 from https://www.un.org/development/desa/pd/sites/www.un.org.development.desa.pd/files/undesa_pd2020_world_population_ageing_highlights.pdf

Vongurai, R., Elango, D., Phothikitti, K. & Dhanasomboon, U. (2018). Social media usage, electronic word of mouth and trust influence purchase-decision involvement in using traveling services. Asia Pacific Journal of Multidisciplinary Research. 6(4), 32-37.

Vos, A., Marinagi, C., Trivellas, P., Eberhagen, N., Skourlas, C. & Giannakopoulos, G. (2014). Risk reduction strategies in online shopping: E-trust perspective. Procedia-Social and Behavioral Sciences. 147, 418-423.