การมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ป่าชายเลนในกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • กิตติศักดิ์ อุตส่าห์การ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • รวิภา ธรรมโชติ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วมของชุมชน, การอนุรักษ์ฟื้นฟู, ป่าชายเลน, กรุงเทพมหานคร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บทบาทของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชายเลน (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน (3) ประสิทธิผลของการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ป่าชายเลนในกรุงเทพมหานคร และ (4) ลักษณะการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ป่าชายเลนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สำนักงานเขตบางขุนเทียน ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นำชุมชน และชาวบ้านในชุมชนในพื้นที่ป่าชายเลน ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกระบวนการการมีส่วนร่วม ได้แก่ ชุมชน สำนักงานเขตบางขุนเทียน และปราชญ์ชาวบ้าน (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน ได้แก่ ปัจจัยด้านภาครัฐเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม ปัจจัยด้านความรู้ และปัจจัยด้านทัศนคติ (3) ประสิทธิผลของการมีส่วนร่วมของชุมชนมีการดำเนินการมีความคืบหน้า แต่ยังไม่บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ และ (4) ลักษณะการมีส่วนร่วมของชุมชน ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย การมีส่วนร่วมในการวางแผน การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ และการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและการประเมินผล

Author Biographies

กิตติศักดิ์ อุตส่าห์การ, หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 

 

รวิภา ธรรมโชติ, หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 

 

References

Astuti, S., Muryani, C., and Rindarjono, M. G. (2018). The community participation in mangrove conservation in Sayung, Demak from 2004-2016. In IOP Conference Series: Earth and Environmental Science 145(1). IOP Publishing Ltd.

DasGupta, R. and Shaw, R. (2017). Mangroves in Asia-Pacific: A Review of Threats and Responses. In: DasGupta, R., Shaw, R. (eds) Participatory Mangrove Management in a Changing Climate, Disaster Risk Reduction, 1–16.

Department of City Planning and Urban Development of Bangkok Metropolitan Administration. (2007). Bang Khun Thian Coastal Erosion Prevention and Solution Project Bangkok. Bangkok: Department of City Planning and Urban Development.

Department of Marine and Coastal Resources. (2014). Coastal situation and management of coastal erosion problems from the past to the present. Pathum Thani: Visuddthi Consultant.

Department of Strategy and Evaluation of Bangkok Metropolitan Administration. (2017). Report on the performance according to the Bangkok Metropolitan Administration Plan for the year 2017. Bangkok: Management Strategy Division.

Gultom, J. E. I., Hasibuan, H. S., and Patria, M. P. (2021). Local Communities Participation in Mangrove Management for Tsunami Disaster Mitigation at Palu City Coastal. The Proceedings of the 2nd International Symposium of Earth, Energy, Environmental Science and Sustainable Development (JEESD 2021), 25th-26th September 2021 at Jakarta, Indonesia, 1-7.

Hanifah, A., and Eddiwan, K. (2018). Community-based mangrove forest management action in Rangsang region, district of Kepulauan Meranti, Riau. MOJ Ecology & Environmental Sciences, 3(6), 339-347.

Jadin, J., and Rousseau, S. (2022). Local community attitudes towards mangrove forest conservation. Journal for Nature Conservation, 68, 126232.

Kongkeaw, C., Kittitornkool, J., Vandergeest, P., and Kittiwatanawong, K. (2019). Explaining success in community based mangrove management: Four coastal communities along the Andaman Sea, Thailand. Ocean & Coastal Management, 178, 1-8.

Kusmana, C. (2015). Integrated sustainable mangrove forest management. Jurnal Pengelolaan Sumberdaya Alam dan Lingkungan, 5(1), 1-6.

Majesty, K. I., and Fadmastuti, M. (2018). Degree of community participation in mangrove resources management as livelihood support in West Java, Indonesia. E3S Web of Conferences, 74, 10005 (2018), EDP Sciences, 1-6.

Sajriawati, Amir, A., Hiskya, H. J., Uspayanti, R., and Hidayat, S. H. (2021). Collaboration of Government Policies and the Marind Tribe Communities on Mangrove Resources Management in the Payum Coastal Area of Merauke Regency in Papua. Review of International Geographical Education Online, 11(5), 280-286.

Sawairnathan, M., and Halimoon, N. (2017). Assessment of the local communities’ knowledge on mangrove ecology. International Journal of Human Capital in Urban Management, 2(2), 125-138.

Treephan, P., Visuthismajarn, P., and Isaramalai, S. A. (2019). A model of participatory community-based ecotourism and mangrove forest conservation in Ban Hua Thang, Thailand. African Journal of Hospitality, Tourism and Leisure, 8(5), 1-8.

UNDP. (2019). Community Mangrove Forest Conservation of Baan Bang La, Thailand. Equator Initiative Case Study Series. New York: United Nations Development Programme.

Utami, N. D., Susiloningtyas, D., and Handayani, T. (2017). Community perception and participation of mangrove ecosystem in Ngurah Rai Forest Park Bali, Indonesia. IOP Conference Series: Earth and Environmental Science, 145(2018), 1-7.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-28

How to Cite

อุตส่าห์การ ก. ., & ธรรมโชติ ร. . (2023). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ป่าชายเลนในกรุงเทพมหานคร. วารสารนวัตกรรมและการจัดการ, 8(1), 94–105. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journalcim/article/view/268207