รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนสาธิตที่สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ สู่ความเป็นเลิศ

ผู้แต่ง

  • ธนวัฒน์ ศรีศิริวัฒน์ วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • บัณฑิต ผังนิรันดร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • ณัฐพงษ์ เตชะรัตนเสฏฐ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการ, โรงเรียนสาธิตที่สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ, ความเป็นเลิศ

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารโรงเรียนสาธิตที่สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์สู่ความเป็นเลิศมี 9 องค์ประกอบ ได้แก่ ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญณาณ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การมุ่งเน้นครูและบุคลากร การจัดการกระบวนการ การจัดการความรู้ ผลการดำเนินงาน ทรัพยากร และการมีส่วนร่วมและสังคม และ (2) ศึกษาระดับขององค์ประกอบของการบริหารโรงเรียนสาธิตสู่ความเป็นเลิศ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหาร ครู-อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และผู้ปกครองนักเรียนปีการศึกษา 2565 จำนวน 560 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายตามสัดส่วน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นอัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) เท่ากับ 0.99 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า (1) องค์ประกอบของการบริหารโรงเรียนสาธิตสู่ความเป็นเลิศทั้ง 9 องค์ประกอบ มีน้ำหนักองค์ประกอบอยู่ระหว่าง .90 - .99 เรียงจากมากไปน้อย 3 ลำดับแรก ได้แก่ ผลการดำเนินงาน การจัดการความรู้ และการมุ่งเน้นนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยรูปแบบการบริหารโรงเรียนสาธิตสู่ความเป็นเลิศมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (c2= 224.684, df = 208, P-value = .203, c2/df = 1.08, GFI = .973, AGFI = .947, CFI = .999, SRMR = .007, RMSEA = .012) และ (2) องค์ประกอบของการบริหารโรงเรียนสาธิตสู่ความเป็นเลิศทั้ง 9 องค์ประกอบอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.23- 4.39 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง .67-.72

Author Biographies

ธนวัฒน์ ศรีศิริวัฒน์, วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

 

 

 

บัณฑิต ผังนิรันดร์, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

 

 

ณัฐพงษ์ เตชะรัตนเสฏฐ์, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

 

 

References

Aladwan, S. A., and Forrester, P. (2016). The leadership criterion: challenges in pursuing excellence in the Jordanian public sector. The TQM Journal, 28(2), 295-316.

Alauddin, N. and Yamada, S. (2022). TQM model based on Deming prize for schools. International Journal of Quality and Service Sciences, 14(4), 635-651.

Ali, M., Usman, M., Shafique, I., Garavan, T. and Muavia, M. (2022). Fueling the spirit of care to surmount hazing: foregrounding the role of spiritual leadership in inhibiting hazing in the hospitality context. International Journal of Contemporary Hospitality Management, 34(10), 3910-3928.

Asad, M. M., Rind, A. A., and Abdulmuhsin, A. A. (2021). Impact of transformational leadership on educational institutes culture: a quantitative study in the context of Pakistan. International Journal of Organizational Analysis, 30(5), 1235-1250.

Bush, T., Abdul Hamid, S., Ng, A., and Kaparou, M. (2018). School leadership theories and the Malaysia education blueprint: Findings from a systematic literature review. International Journal of Educational Management, 32(7), 1245-1265.

De Menezes, L. M., Escrig-Tena, A. B., and Bou-Llusar, J. C. (2022). Sustainability and Quality Management: has EFQM fostered a Sustainability Orientation that delivers to stakeholders?. International Journal of Operations & Production Management, 42(13), 155-184.

Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J. and Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis. 7th ed. Pearson: New York.

Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (2021). PISA 2018 Reading, Mathematics and Science Assessment Results. Bangkok: Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology. (in Thai)

KA, Z., and Aboobaker, N. (2021). Spiritual leadership and intention to stay: examining the mediating role of employee voice behaviour. Journal of Management Development, 40(5), 352-364.

McKay, F. (2022). Higher Education Professional Services Staff as Regulatory Policy Actors: an English Case Study. In Governance and Management in Higher Education, 43, 71-88.

Moral Santaella, C. (2022). Successful school leadership for social justice in Spain. Journal of Educational Administration, 60(1), 72-85.

National Institute of Educational Testing Service. (2022). Examination arrangements. [Online]. Retrieved July 19, 2022, from: https://www.niets.or.th/th/. (in Thai)

National Institute of Standards and Technology. (2008). Burbidge National Quality Program Educational Criteria for Performance Excellence. Gaithersburg.MD.

Nawelwa, J., Sichinsambwe, C. and Mwanza, B.G. (2015). An analysis of total quality management (TQM) practices in Zambian secondary schools: A survey of Lusaka district. The TQM Journal, 27(6). 716-731.

Rasmussen, A. (2022). Terms of Talent in an Upper Secondary Danish School Context: Local Reactions to Standardisation of Educational Talent. In Educational Standardisation in a Complex World. Emerald Publishing Limited.

Rompho, N. (2020). The balanced scorecard for school management: Case study of Thai public schools. Measuring Business Excellence, 24(3), 285-300.

Türkmendağ, Z., and Tuna, M. (2022). Empowering leadership and knowledge management: the mediating role of followers' technology use. Journal of Organizational Change Management, 35(2), 330-347.

Wang, L.H., Gurr, D. and Drysdale, L. (2016). Successful school leadership: case studies of four Singapore primary schools. Journal of Educational Administration, 54(3), 270-287.

Zhang, Y., and Yang, F. (2020). How and when spiritual leadership enhances employee innovative behavior. Personnel Review, 50(2), 596-609.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-28

How to Cite

ศรีศิริวัฒน์ ธ. ., ผังนิรันดร์ บ. ., & เตชะรัตนเสฏฐ์ ณ. . (2023). รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนสาธิตที่สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์ สู่ความเป็นเลิศ. วารสารนวัตกรรมและการจัดการ, 8(1), 35–48. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journalcim/article/view/266613