รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีเพื่อการกำหนดความสามารถทางการรองรับนักท่องเที่ยวตลาดน้ำตลิ่งชัน
คำสำคัญ:
ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว, ตลาดน้ำตลิ่งชัน, นักท่องเที่ยวบทคัดย่อ
การศึกษารูปแบบการจัดการเทคโนโลยีเพื่อการกำหนดความสามารถทางการรองรับนักท่องเที่ยวตลาดน้ำตลิ่งชัน โดยผู้วิจัยได้ดำเนินการสำรวจค้นคว้าข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องจากเอกสาร งานเขียน ตำรา วารสาร งานวิจัยและข้อมูลทางอินเตอร์เนตที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาประมวลผลหานิยาม และนำข้อมูลมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ศักยภาพ โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อสำรวจและศึกษาบริบทของตลาดน้ำตลิ่งชัน เพื่อกำหนดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพและความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวของตลาดน้ำตลิ่งชัน (ด้านพื้นที่และด้านสิ่งอำนวยความสะดวก) และเพื่อวางรูปแบบการจัดการเทคโนโลยีเพื่อกำหนดความสามารถทางการรองรับนักท่องเที่ยวตลาดน้ำตลิ่งชัน บริบทของตลาดน้ำตลิ่งชันและความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว สามารถแบ่งตามมาตรฐานตลาดน้ำ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ 1 ด้านลักษณะทางกายภาพของแหล่งท่องเที่ยว ด้านที่ 2 ด้านลักษณะการจัดการและบริการแหล่งท่องเที่ยว ด้านที่ 3 ด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรม ด้านที่ 4 ด้านการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และด้านที่ 5 ด้านเศรษฐกิจ ตลาดน้ำตลิ่งชันเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำที่มีชื่อเสียงของกรุงเทพมหานคร มีอาหารรสชาติอร่อยไว้บริการนักท่องเที่ยว มีทั้งบนบกและในแพ ยังมีสินค้าหลากหลายมีไม้ดอกไม้ประดับ ผลไม้ อาหารคาว หวาน สินค้าที่ระลึกจากชุมชน ไว้ให้นักท่องเที่ยวได้เลือกซื้อ เป็นการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ สามารถสร้างรายได้ให้คนในพื้นที่ และผู้ที่มีอาชีพเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยว ซึ่งในแต่ละปีนักท่องเที่ยวมีจำนวนมากขึ้นทุกปี โดยรูปแบบการจัดการเทคโนโลยีเพื่อการกำหนดความสามารถทางการรองรองรับนักท่องเที่ยวตลาดน้ำตลิ่งชัน พบว่า จากการดำเนินงานของตลาดน้ำตลิ่งชัน มีการจัดการตนเองอย่างเห็นได้ชัดเป็นรูปธรรม ในกระบวนการทำงานนั้นก็มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แต่ทั้งนี้ในการเปลี่ยนแปลงก็เพื่อให้เกิดการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวชุมชนตลาดน้ำตลิ่งชัน ทั้งในแง่ของการพึ่งพาตนเองและมีการบริหารจัดการที่ดีการตั้งกฎระเบียบ และข้อบังคับในการอยู่ร่วมกัน มากไปกว่านั้นขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยวแบ่งออกเป็น 4 ลักษณะ คือ (1) ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านกายภาพ (2) ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านสิ่งแวดล้อม (3) ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านสังคม และ (4) ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านเศรษฐกิจ
References
Anuyahong, T. (2020). Participation of the people's sector in sanitation management of Taling Chan Floating Market. [Online]. Retrieved June 12, 2020 from: http://www.bangkok.go.th/upload/user/00000112/News/npt/2020/clean/thanapon.pdf
Dechphong. K. (2019). The riverside lifestyle of the people of Taling Chan Floating Market for sustainable tourism Taling Chan District, Bangkok. The Proceedings of the 2nd National Conference on Research Presentations of Students in Humanities and Social Sciences, January 19, 2019 at the Faculty of Humanities and Social Sciences, Suan Sunandha Rajabhat University. (in Thai)
Chakkaew, A. (2002). Geographic information system for tourism information foundation management. in Prachuap Khiri Khan Province. Thesis of the Degree of Master Program in Geography. Bangkok: Faculty of Arts, Chulalongkorn University.
Kaewuthai, K., Pornphanphaiboon, S., Kaewuthai, B. and Sarimat. (2018). Tick Capacity and satisfaction of tourists towards the facilities around Bang Pae Waterfall Phuket Province. The Proceedings of the National Conference Phuket Rajabhat University 11th time: 2018 “Integrating Wisdom to Innovation and Sustainable Local Development” Agricultural Resource Management for Tourism Faculty of Agricultural Technology Phuket Rajabhat University. Retrieved October 22, 2020, from: https://btech.pkru.ac.th/images/doc/ PKRU2561_benjaporn_bangpae.pdf
Ketanon, R. (2006). Proposing guidelines for sustainable tourism development in provinces. Samut Songkhram. Thesis of the Degree of Master Program. Bangkok, Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University.
Kittichayanon, S. (2007). Establishing floating market standards for ecotourism: Case study of Taling Chan Floating Market. Thesis of the Degree of Master of Science Program in Planning and Tourism Management. Bangkok: Srinakharinwirot University.
Kongkaew, J. Pongsuwan, N., Buaphet, P. and Butrat, P. (2013). Capacity to support and management measures for shallow-water coral reef tourism on Khai Nok Island Phang Nga Province. Thesis of the Degree of Master of Science Program in Technology and Environment. Songkla, Prince of Songkla University. [Online]. Retrieved October 18, 2020 from: https://opac.kku.ac.th/ Catalog/ArticleItem.aspx?JMarcID= j00256055.
Laemuang, S. (2006). The impact of tourism in the Amphawa floating market on the way of life of Community. Thesis of the Degree of Master of Business Administration Program in General Business Management. Nakhon Pathom: Silpakorn University. (in Thai)
Leloem, P. (2005). Ecotourism. A case study of Taling Chan Floating Market. Thesis of the Degree of Master Program in Sociology. Bangkok: Faculty of Sociology and Anthropology, Thammasat University.
Paosuwan, K. et al. (2007). Research report on expectation and satisfaction With to study at Suan Dusit Rajabhat University, Phitsanulok Center. Bangkok: Research and Development Institute, Suan Dusit Rajabhat University.
Phochan, J. (2010). Work satisfaction of nursing college professors in the North. Thesis of the Degree of Master of Education Program in Educational Administration. Bangkok: Srinakharinwirot University Prasarnmit.
Rangyangkun, W. (2008). Human behavior and environment. 8th ed. Bangkok: Chulalongkorn University.
Rodruangdet, N. (2012). Feasibility Study for Taling Chan Floating Market Development. Independent Study of the Degree of Master of Business Administration. Bangkok: Thammasat University. (in Thai)
Sarasorn, N. (2010). The impact of tourism industry on the economic condition of the floating market. Convenient, Ratchaburi Province. Thesis of the Degree of Master Program in Anthropology. Bangkok: Silpakorn University.
Wattanavanich, K. (2007). Factors affecting the quality of ecotourism. Thai tourists: a case study of Taling Chan Floating Market, Taling Chan District, Bangkok. Thesis of the Degree of Master Program. Nakhon Pathom: Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University.
Wongsarot, R. (2018). Study of ways to increase support capacity and increase income of tourist attractions. International Thai Tourism Journal, 14(2), 62-75.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารนวัตกรรมและการจัดการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
โปรดดูที่จริยธรรมการตีพิมพ์ https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journalcim/Ethics