ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับต้นแบบนวัตกรรมการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

ผู้แต่ง

  • สมรพรรณ เรืองสวัสดิ์ สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • วิไลลักษณ์ รักบำรุง วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

การยอมรับเทคโนโลยี, ต้นแบบนวัตกรรม, การบริหารจัดการ, การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ (1) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการยอมรับต้นแบบนวัตกรรมการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเมื่อจำแนกตามลักษณะประชากรศาสตร์ และ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการยอมรับต้นแบบนวัตกรรมการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ระเบียบวิธีวิจัยเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ นักท่องเที่ยวที่เคยมาท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเขตทองหล่อ กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเชิงสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลการเปรียบเทียบลักษณะประชากรศาสตร์ที่ส่งผลต่อการยอมรับต้นแบบวัตกรรมการบริหารจัดการเชิงท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ พบว่า นักท่องเที่ยวที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ต่างกันยอมรับต้นแบบนวัตกรรมการบริหารการจัดการเชิงท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 และ (2) ปัจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการยอมรับนวัตกรรมการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ สามารถทำนายได้ 65% เมื่อทดสอบตัวแปรอิสระที่ส่งผลต่อตัวแปรตามครั้งละตัว พบว่า ปัจจัยด้านทัศนคติในการใช้งาน พฤติกรรมที่มีแนวโน้มจะใช้ ความง่ายในการใช้งาน และการรับรู้ถึงประโยชน์ ส่งผลต่อการยอมรับต้นแบบนวัตกรรมการบริหารจัดการการท่องเที่ยงเชิงสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05

References

Aggelidis, V. P., Chatzoglou, P. D., and, Fragidis, L. L. (2016). Integrated nationwide electronic health records system: Semi-distributed architecture approach. Technology and Health Care, 24(6), 827-842.

Baptista, G., and Oliveira, T. (2015). Understanding mobile banking: The unified theory of acceptance and use of technology combined with cultural moderators. Computers in Human Behavior, 50, 418-430.

Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. 3d ed. New York: John Wiley and Sons.

Davis, F. (1989). Perceived usefulness: Perceived ease of use, and end user acceptance of information technology. MIS Quarterly, 13(3), 318-339.

Davis, F. Bagozzi, R. and Warshaw, P. (1989). User Acceptance of Computer Technology: A Comparison of Two Theoretical Models. Management Science, 35(8), 982-1003.

Grant, B., Dollery, B., and Kortt, M. (2016). Recasting leadership reform in Australian local government: A typology from political theory. Local Government Studies, 42(6), 1024-1046.

Hart, A.O., Nwibere, B.M., and Inyang, B.J. (2015). The uptake of electronic commerce by SMEs: A meta the oretical framework expanding the determining constructs of TAM and TOE frameworks. Journal of Global Business Technology, 6(1), 1-27.

Järvinen, J., Ohtonen, R., and Karjaluoto, H. (2016). Consumer acceptance and use of Instagram. In 2016 49th Hawaii International Conference on System Sciences (HICSS), IEEE, pp. 2227-2236.

Lien, A. S. Y., and Jiang, Y. D. (2017). Integration of diffusion of innovation theory into Diabetes care. Journal of diabetes investigation, 8(3), 259.

Liu Xi, M.A. (2017). Factors Used by Chinese Tourists Traveling to Thailand to Select a Mobile Application for Online Accommodation Booking. Independent Study of the Degree of Master of Arts in Hospitality and Tourism Industry Management. Bangkok: Bangkok University. (in Thai)

Panyawai, P. and Supawan, R. (2016). The technology acceptance and country of origin related factors affecting the attitudes towards cosmetic online pre-orders of consumers in Bangkok. Journal of Innovation and Management Suan Sunandha Rajabhat University, 1, 31-39. (in Thai)

Rhodes, R. A. W. (2018). Control and power in central-local government relations. London, UK: Routledge.

Tankui, N., Nookate, P., Kwanthongyim, W., and Petrak, W. (2017). Application technology acceptance affecting tourists’behavior in phattalung province. The proceedings of the 2nd National Conference on Humanities and Social Sciences: Humanities and Social Sciences for Social innovation, 5-6 August 2019, 1171-1183. Retrieved from http://human.skru.ac.th/husoconference/conf/P46.pdf (in Thai)

Tourism Authority of Thailand. (2008). A project to survey the level of health tourism awareness of Thailand. Bangkok: Planning Policy Department, Tourism Planning Division. (in Thai)

Tourism Authority of Thailand. (2009). Health tourism. Retrieved 1 June 2020 from; http://thai.tourismthailand.org

Thiasana, S. (2014). The development format of a classroom operational research: teaching institutions under Division of primary education in Maha Sarakham district 2. Khon Kean: Khon Kean University.

The World Tourism Organization. (2016). UNWTO Annual Report 2015. UNWTO, Madrid, DOI: https://doi.org/10.18111/9789284418039

Vanichbancha, K. (2018). Statistics for research. 12th ed. Bangkok: Sam Lada.

Wan, L., and Ding, F. (2019). Decomposition-and gradient-based iterative identification algorithms for multivariable systems using the multi-innovation theory. Circuits, Systems, and Signal Processing, 38(7), 2971-2991.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-25

How to Cite

เรืองสวัสดิ์ ส., & รักบำรุง ว. (2021). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับต้นแบบนวัตกรรมการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. วารสารนวัตกรรมและการจัดการ, 6(1), 07–21. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journalcim/article/view/244504