10.การออกแบบและพัฒนาระบบแนะนารายการดิจิตอลทีวี ตามพฤติกรรมและลักษณะของผู้ใช้งาน

Authors

  • ชัชวาล แก้วมณี ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สมชาย นาประเสริฐชัย ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ประดนเดช นีละคุปต์ ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Keywords:

เหมืองข้อมูล, ระบบแนะนา, ตัวกรองเชิงร่วมมือ

Abstract

          เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องส่งผลให้สื่อหลักอย่างโทรทัศน์ได้มีการนาเอาเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาทาให้เกิดเว็บไซต์ทีวีดิจิตอลเพื่อให้ผู้ชมเข้าถึงข้อมูลได้อีกช่องทางหนึ่งส่งผลให้พฤติกรรมการเข้าถึงข้อมูลมีความหลากหลายมากขึ้น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบแนะนารายการดิจิตอลทีวีให้เหมาะสมกับพฤติกรรมและลักษณะของผู้ใช้งาน โดยวิธีการทาเหมืองข้อมูลด้วยเทคนิค Clustering และ Association Rules ร่วมกับวิธีการแนะนาข้อมูลด้วยเทคนิค Collaborative Filtering มาใช้สาหรับการแนะนารายการดิจิตอลทีวี เพื่อให้สามารถแนะนาข้อมูลได้แม่นยามากที่สุด ในการประเมินความแม่นยาของระบบได้ทาการทดสอบกับชุดข้อมูลทดสอบ (Testing Set) จานวน 2,000 คน จากการทดสอบระบบสามารถแนะนาข้อมูลได้ถูกต้อง 82.4% ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าระบบที่พัฒนาขึ้นมีความแม่นยาอยู่ในระดับดีและสามารถนาไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

1. ชนาพร พิทยาบูรณ์. (2554). “ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเปิดรับชมรายการละครวิทยุโทรทัศน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคาแหง”. วารสารรามคาแหง ฉบับมนุษยศาสตร์ ปีที่ 33 ฉบับที่ 1, หน้า 109-121.

2. Jiawei Han and Michelline Kamber. (2006). “Data Mining Concept and Techniques”. USA : Morgan Kaufman Publication.

3. เอกสิทธิ์ พัชรวงศ์ศักดา. (2557). “การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคดาต้า ไมนิ่ง เบื้องต้น”. บริษัท เอเชียดิจิตอลการพิมพ์ จากัด. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ.

4. Felfernig A., Friedrich G., and Schmidt-Thieme L..(2007). “Recommender Systems.” IEEE Intelligent Systems Special Issue on Recommender Systems. IEEE Computer Society.

5. ทัศนวรรณ แก้วใส และสุพจน์ นิตย์สุวัฒน์. (2552). “ระบบแนะนาภาพยนตร์ด้วยเทคนิคตัวกรองเชิงร่วมมือร่วมกับวิธีเคมีน”. การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

6. ปรินดา สมสังข์ และมณเฑียร รัตนศิริวงศ์วุฒิ. (2553). “การพัฒนาระบบแนะนารายวิชาเรียนโดยใช้เทคนิค Collaborative Filtering”. การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

7. สุภาวดี ศุภน้อย และจิรารัตน์ สิทธิวรชาติ. (2555). “นาเสนอการประยุกต์ใช้เทคนิค Collaborative Filtering ในการแนะนาเพลง Download”. การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

8. บุญเสริม กิจศิริกุล. (2546). “อัลกอริทึมการทาเหมืองข้อมูล”. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยร่วมภาครัฐและเอกชน ปีงบประมาณ 2545. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

9. Galit Shmueli, Nitin R.Patel and Peter C.Bruce. (2010). “Data Mining for Business Intelligence Second Editon”. Shmueli, Galit. United State of America.

10. Michael J.A. Berry and Gordon S.Linoff. (2011). “Data Mining Techniques : For Marketing, Sales, and Customer Relationship Management Third Edition”. Wiley Publishing, USA : Indianapolis

Downloads

Published

2016-01-05

How to Cite

แก้วมณี ช., นาประเสริฐชัย ส., & นีละคุปต์ ป. (2016). 10.การออกแบบและพัฒนาระบบแนะนารายการดิจิตอลทีวี ตามพฤติกรรมและลักษณะของผู้ใช้งาน. Journal of Innovation and Management, 1(-), 86–95. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journalcim/article/view/223300

Issue

Section

Academic Articles