7.กลยุทธ์การตลาดของผู้ประกอบการร้านขายยา เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Keywords:
กลยุทธ์การตลาด, ผู้ประกอบการร้านขายยา, ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากลยุทธ์การตลาดของผู้ประกอบการร้านขายยา เพื่อเตรียมความพร้อม เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่มี ส่วนประสมทางการตลาด 7 ด้าน กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ประกอบการร้านขายยาในเขตกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ในช่วงเดือน พ.ย.- ธ.ค. พ.ศ.2558 สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า S.D. ค่าความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ไคสแควร์ ด้วยวิธีของเพียร์สัน
จากผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การตลาดขึ้นอยู่กับสถานภาพทั่วไปของธุรกิจ คือ ที่ตั้ง จานวนคนขาย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และระยะเวลาที่เปิดกิจการ โดยผู้ประกอบการที่มีสถานภาพทางธุรกิจต่างกัน จะให้ค่าความสาคัญของกลยุทธ์แตกต่างกัน ซึ่งระดับความสาคัญของกลยุทธ์โดยภาพรวม ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านสถานที่ ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านราคาและด้านการส่งเสริมการขายอยู่ในระดับปานกลาง และพบว่า องค์ประกอบที่ผู้ประกอบการให้ความสาคัญมากที่สุด คือ ผลิตภัณฑ์เป็นยาแผนปัจจุบันที่ออกฤทธิ์ได้ไว เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป บรรจุภัณฑ์จะต้องมีฉลากและเอกสารกากับยาชัดเจนยาส่วนใหญ่ผลิตในประเทศไทย ตั้งราคาตามต้นทุนจริงบวกกาไร ภายในร้านจัดเรียงสินค้าเป็นระเบียบติดตั้งเครื่องปรับอากาศเพื่อรักษาอุณหภูมิ เภสัชกรควรมีความรู้เพียงพอ แก่การให้บริการ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ปฏิบัติงานตลอดเวลาที่ร้านเปิดทาการ เวลาเปิดร้านที่เหมาะสม คือ 07.00 น. และ การทาบัตรสมาชิก ทั้งนี้ควรมีการปรับกลยุทธ์การตลาดให้เหมาะสมตามสถานการณ์ต่างๆ เพื่อความสาเร็จที่ยั่งยืน
References
2. คุลิกา วัฒนสุวกุล. (2555). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อ ความพึงพอใจ และความตั้งใจ ซื้อซ้าของลูกค้า กรณีศึกษา แผนกยาของร้านวัตสัน. บัณฑิตวิทยาลัย. สาขาวิชาการตลาด. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. สืบค้นเมื่อ วันที่ 6 ธันวาคม 2557. จาก http://thesis.swu.ac.th /swuthesis/Mark/Kulika_W.pdf.
3. ยุทธนา ธรรมเจริญ วัฒนี วัฒนวิกย์กิจ และ อดิลล่า พงศ์ยี่หล้า. (2553). สภาพการแข่งขันทางธุรกิจค้าปลีกร้านขายยาแบบดั้งเดิม. หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2558]. จาก http://ird.stou.ac.th/dbresearch/uploads/11/บทคัดย่อ.pdf
4. สมประสงค์ แตงพลอย. (2553). พฤติกรรมการซื้อยาจาก ร้านขายยาของผู้บริโภคในอาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. สาขาวิชาการจัดการ. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์].
สืบค้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2558. จาก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Man/Somprasong_T.pdf.
5. สานักส่งเสริมการแข่งขันทางการค้า, กรมการค้าภายใน. ร้าน ขายยารูปแบบ Chain Store: การแข่งขันและ การพัฒนาในตลาดยารักษาโรค. [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2557. จาก http://otcc.dit.go.th/otcc/upload.pdf.
6. ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2558). ธุรกิจร้านขายยา. [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2559. http://www.kasikornbank.com/SME/Documents/KSMEAnalysis/IndustrySolution_PharmaceuticalAndHospital_2015.pdf
7. หทัยชนก เตสยานนท์. (2556). กลยุทธ์การปรับตัวต่อการ เปิดการค้าเสรีในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนของผู้ประกอบการร้านขายยาและ สมุนไพรจีนในเขตสัมพันธวงศ์ จังหวัด กรุงเทพมหานคร. สาขาวิชาการจัดการทั่วไป. วิทยาการจัดการ. มหาวิทยาลัยศิลปากร. [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2558.จาก http://www.info.ms.su.ac.th/sums02/ PDF 01/2556/GB/2.pdf
8. อนุศาสตร์ สระเวียนทอง. (2553). ธุรกิจค้าปลีกประเทศ ไทย. วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม. สาขาวิชาการจัดการ, [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. สืบค้นเมื่อ วันที่ 1 พฤษภาคม 2558. จากhttp://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/ article_detail.php?ArticleID=78523.
9. Kotler, Philip. (1997). Marketing management : Analysis, planning, implementation and control. 9 th ed., New Jersey : Prentice Hall.
10. Kotler, Philip. (2000). Marketing management. 10 th ed., New Jersey : A Simon & Schuster.
11. Sirijany, Kuawiriyapan. (2012). Guide Line for Marketing Strategy Improvement of Drug Store in Bangkok Metropolitan. International Journal of Business and Management Studies. King Mongkut’s Institute of Technology. Retrieved on 1 December 2014 from http://universitypublications.net/ijbms/ 0102/html/PAR190.xml.