5.การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชาคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

Authors

  • พจนา ชำนาญกุล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • ชัยวัฒน์ วารี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

Keywords:

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์, คณิตศาสตร์, นักเรียน

Abstract

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาคณิตศาสตร์จานวนนับไม่เกิน 1,000 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ตามเกณฑ์ 80/80 และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดป่าไผ่ จานวน 25 คน ใช้แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบทดสอบระหว่างเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามความพึงพอใจ เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

          ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องจานวนนับไม่เกิน 1,000 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยมีประสิทธิภาพ E1 / E2 เท่ากับ 92.04/ 93.33 แสดงว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีประสิทธิภาพ สูงกว่าเกณฑ์ 80/80
2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.60 โดยค่าเฉลี่ยที่อยู่ระหว่าง 4.16-4.72และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.45-0.73

References

1. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรุงเทพ ฯ

2. กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและสื่อสารเพื่อ การศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ

3. ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. (2551). E-Book หนังสือพูดได้. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพ ฯ ฐานพิมพ์

4. พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2552). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์ เชิงสามเหตุของพฤติกรรมการ.

5. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2550). วารสารศึกษาศาสตร์. ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม.

6. ครรชิต มาลัยวงศ์. (2540). ทัศนะไอที. กรุงเทพฯ ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ.

7. ทิศนา แขมมณี. (2553). ศาสตร์การสอน.

8. มนต์ชัย เทียนทอง. (2548). การประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์.

9. มนต์ชัย เทียนทอง. (2548). การออกแบบระบบการสอน.

10. มนต์ชัย เทียนทอง. (2548). การหาคุณภาพแบบทดสอบ.

11. มนต์ชัย เทียนทอง. (2546). พัฒนาเทคนิคศึกษา. ปีที่ 16 ฉบับที่ 48 ต.ค. ธ.ค.

12. ณัฐกร สงคราม. (2553). การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดีย เพื่อการเรียนรู้.

13. บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

14. บุญชม ศรีสะอาด. (2543). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

15. ยืน ภู่วรวรรณ. (2546). ไอซีทีเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร ซี เอ็ดยูเคชั่นจากัด (มหาชน)

16. ระเบียบ บังคมเนตร. (2554). การพัฒนาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ เรื่องความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต คอมพิวเตอร์ ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

17. Hage, Ellen V. [n.p.]. E-book technology: The relationship between self-efficacy and usage levels.

18. Doman, Todd Oliver. [n.p.]. E-book:The first two generation. Dissertation Abstracts International.

Downloads

Published

2016-01-05

How to Cite

ชำนาญกุล พ., & วารี ช. (2016). 5.การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์วิชาคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. Journal of Innovation and Management, 1(-), 39–45. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journalcim/article/view/223292

Issue

Section

Academic Articles