พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและความพึงพอใจต่อการใช้บริการของ สมาชิกสโมสรอาวุโสเสริมสุขแห่งประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • มาลี เหลืองสุวิมล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • รัตนา ปานเรียนแสน วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ, ความพึงพอใจ, สโมสรอาวุโสเสริมสุขแห่งประเทศไทย, สุขภาพสาธาระชน

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ และความพึงพอใจต่อ การให้บริการของสมาชิกสโมสรอาวุโสเสริมสุขแห่งประเทศไทย จาแนกตามลักษะะประชากรศาสตร์ และศึกษา แนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของสมาชิกสโมสรอาวุโสเสริมสุขแห่งประเทศไทย ดาเนินการวิจัย โดยการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 125 ราย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล นาผลที่ได้มาวิเคราะห์ผล สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าเอฟ ผลการวิจัย พบว่า สมาชิกสโมสรอาวุโสเสริมสุขแห่งประเทศไทย มีการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( gif.latex?\bar{X}=3.06) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือได้แก่ ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาะ ( gif.latex?\bar{X}=3.38) ระดับความพึงพอใจต่อการใช้บริการของสมาชิกสโมสรอาวุโสเสริมสุขแห่งประเทศไทยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( gif.latex?\bar{X}=3.71) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ( gif.latex?\bar{X}=3.91) สมาชิกที่มีระดับการศึกษา และความถี่ในการใช้บริการที่ต่างกันมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และสมาชิกที่มีเพศ สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ ลักษะะของครอบครัว แหล่งของรายได้ ความถี่ของการใช้บริการ และกิจกรรมที่มาใช้บริการแตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่อการบริการของสโมสรแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของสโมสร คือ การจัดกิจกรรมที่เน้นการสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและการทากิจกรรมร่วมกันของสมาชิก เพื่อทาให้สมาชิกมีกิจกรรมทางร่างกายมากขึ้น มีโอกาสรับรู้ข้อมูลสุขภาพมากขึ้น และมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น สรุปผลการวิจัย สมาชิกสโมสรอาวุโสเสริมสุขแห่งประเทศไทย มีการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากมีระดับความพึงพอใจต่อการใช้บริการของสมาชิกสโมสรอาวุโสเสริมสุขแห่งประเทศไทยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีความแตกต่างของระดับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและความ พึงพอใจต่อการใช้บริการของสมาชิกสโมสรอาวุโสเสริมสุขแห่งประเทศไทยจาแนกตามลักษะะประชากรศาสตร์ ดังนั้น ควรจัดกิจกรรมที่เน้นการสร้างเสริมความสัมพันธ์ กิจกรรมทางร่างกาย และความรู้ด้านสุขภาพโดยคานึงถึงความแตกต่างทางประชากรศาสตร์

References

1. Boonsattha, J. (2008). Satisfaction with the service of Thai Oil Club Association, Chonburi Province. Chonburi: Thesis of the Degree of Master of Public Administration in General Administration. Chonburi: Burapha University. (in Thai)

2. Bunnag, M. (1994). Statistics for decision making. Bangkok: Faculty of Commerce and Accountancy, Chulalongkorn University. (in Thai)

3. Cronbach, L.J. (1970). Essential of Psychological Testing. 5th ed. New York: Harper and Row Publishers Inc.

4. Maslow, A.H. (1970). Motivation and Personality. 2nd ed. New York: Harper and Row.

5. Naiyapat, O. (2008). Quantitative and qualitative research in behavioral science and social science. 3rd edition. Bangkok: Sam Lada. (in Thai)

6. Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of service quality and its implications for future research. Journal of Marketing, 49(4), 41 50.

7. Pender, N.J. (1987). Health Promotion Nursing Practice. Appleton Century Crofts. Norwalk.

8. Sermsuk Senior Club of Thailand. (2014). Report of the performance of the Senior Club of Thailand in 2013. Bangkok: Sermsuk Senior Club of Thailand. (in Thai)

9. Starpor, S. (2009). Elderly health status study Mueang District, Narathiwat Province. Chonburi: Burapa University. (in Thai)

10. Sukphol, N. (2007). Organization Development. Chonburi: College of Public Administration, Burapha University. (in Thai)

11. Thongsawet, W. (2005). Satisfaction of library users in Kuakarun College of Nursing. Bangkok: Kuakarun Nursing College. (in Thai)

12. Walker, S.N., Sechrist, K.R., and Pender, N.J. (1987). The health–promotion lifestyle profile II: Development and Psychometric Characteristics. Nursing Research, 36 (2), 76 81.

13. Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row Publications.

เผยแพร่แล้ว

2017-01-05

How to Cite

เหลืองสุวิมล ม., & ปานเรียนแสน ร. (2017). พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและความพึงพอใจต่อการใช้บริการของ สมาชิกสโมสรอาวุโสเสริมสุขแห่งประเทศไทย. วารสารนวัตกรรมและการจัดการ, 2(-), 20–35. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journalcim/article/view/221855