การสำรวจความผิดพลาดของป้ายสาธารณะและความเข้าใจของชาวต่างชาติที่มีต่อป้ายย่านธุรกิจในกรุงเทพฯ: กรณีศึกษาพื้นที่บริเวณสาทรและสุขุมวิท

ผู้แต่ง

  • ศิรประภา กองแก้ว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเทศไทย
  • ศิริพร เลิศไพศาลวงศ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประเทศไทย

DOI:

https://doi.org/10.14456/jlapsu.2025.1

คำสำคัญ:

ภูมิทัศน์ทางภาษา , ภูมิทัศน์ทางภาษาในประเทศไทย , นโยบายทางภาษา, ความเข้าใจในป้าย, ข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์

บทคัดย่อ

ถึงแม้รายงานข่าวหลายฉบับนำเสนอความผิดพลาดทางไวยากรณ์ของป้ายในประเทศไทย แต่งานวิจัยส่วนใหญ่กลับมองข้ามผลกระทบของข้อผิดพลาดเหล่านี้ ความผิดพลาดบนป้ายสาธารณะในประเทศทำให้ชาวต่างชาติเกิดความสับสนและส่งผลถึงการมองความสามารถทางภาษาของประเทศในเชิงลบ การกล่าวถึงความผิดพลาดเหล่านี้จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะข้อผิดพลาดต่าง ๆ ส่งผลต่อความรู้ความเข้าใจของผู้อ่านและภาพลักษณ์ของประเทศ ควรที่จะมีการพิจารณาในเรื่องของความผิดพลาดโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางไวยากรณ์ที่ส่งผลต่อความเข้าใจป้ายภาษาอังกฤษของชาวต่างชาติ การศึกษาครั้งนี้เริ่มจากการแจกแบบสอบถามให้ชาวต่างชาติ 30 คน เพื่อที่จะทำความเข้าใจถึงมุมมองของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับป้ายต่าง ๆ ที่มีความผิดพลาด โดยมุ่งเน้นไปที่ป้ายที่มีความผิดพลาดทางไวยกรณ์จำนวน 40 ป้าย ผลการสำรวจชี้ให้เห็นประเด็นหลักๆ อยู่สองประเด็น 1.) 17% ของป้ายที่ผิดพลาดทั้งหมดได้คะแนนในระดับต่ำในแบบสอบถามนี้ พบปัญหาภาษาอังกฤษที่อยู่บนป้ายเหล่านี้ไม่ชัดเจนและมีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ส่งผลให้ชาวต่างชาติเข้าใจยาก 2.) ป้ายที่ผิดพลาดทั้งหมดในแบบสอบถามนี้มีความผิดพลาดที่เกี่ยวข้องในเรื่องของการเลือกใช้คำ (30%) และการเลี่ยงเว้นคำ 28%) โดยอ้างอิงจากทฤษฎีของ คอร์เดอร์ (1973) ข้อผิดพลาดอันประกอบไปด้วย คำศัพท์ที่ไม่เหมาะสม การสะกดคำผิด และการเลี่ยงเว้นคำ ล้วนส่งผลให้เกิดความไม่เข้าใจ การศึกษานี้จึงมีความสำคัญต่อผู้ที่เกี่ยวข้องซึ่งประกอบไปด้วย ผู้เดินทางในพื้นที่สาทรและสุขุมวิทรวมถึงหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่มุ่งพัฒนาและสร้างป้ายสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้เสนอแนะให้มีการแทนที่ป้ายของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนด้วยป้ายที่เหมาะสมและถูกต้อง และในท้ายที่สุดงานวิจัยนี้จะมีประโยชน์ต่อประเทศของเราโดยการเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ ดึงดูดนักท่องเที่ยวและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุนมากยิ่งขึ้น

References

Abisamra, N. (2003). An analysis of errors in Arabic speakers’ English writings. Retrieved November 26, 2024, from https://abisamra03.tripod.com/nada/languageacq-erroranalysis.htm

Ariani, N. M., & Artawa, K. (2022). Analysis of the grammatical errors of English public signs translations in Ubud, Bali, Indonesia. Journal of Language and Linguistic Studies, 18(2), 809-909. https://www.jlls.org/index.php/jlls/article/view/2974

Backhaus, P. (2007). A comparative study of urban multilingualism in Tokyo. International Journal of Multilingualism, 3(1), 52-66. http://doi.org/10.21832/9781853599484

Bangkokpost. (2021, November). English gets raw deal. Bangkokpost. Retrieved February 9, 2024, from https://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/2219235/english-gets-raw-deal

Chaudary, F., & Moya, M. (2019). An examination and analysis of a learner’s errors from the perspective of a pedagogical grammar [Proceedings Conference]. Applied Linguistics and Language Teaching Conference Proceedings. https://repository.uel.ac.uk/item/8452v

Corder, S., P., M. (1973). Introducing applied linguistics (n.d.). Penguin.

Derwing, T. M., & Munro, M., J. (2015). Pronunciation fundamentals. John Benjamins Publishing Company. https://doi.org/10.1075/lllt.42

Guo, M. (2012). Analysis on the English-translation errors of public signs. Academy Publisher, 2(6), 1214-1219. https://doi.org/10.4304/tpls.2.6.

Huebner, T. (2006). Bangkok’s linguistic landscapes: Environmental print, code mixing and language change. International Journal of Multilingualism, 3(1), 31-51. https://doi.org/10.1080/14790710608668384

Kachru, Y., & Smith, L., E. (2008). Cultures, contexts, and world Englishes. World Englishes, 28(1), 136-138. https://doi.org/10.1111/j.1467-971X.2008.01574_3.x

Landry, R., & Bourhis, R., Y. (1997). Linguistic landscape and ethnolinguistic vitality. Journal of Language and Social Psychology, 16(1), 23-49. https://doi.org/10.1177/0261927x970161002

Netthanyakonwong, A. (2023). The error analysis of Chinese translation of airport public signs in Thailand. Journal of Studies in the field of Humanities, 31(1), 147-169. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/abc/article/view/261623

Ngampramuan, W. (2019). Intelligibility of English on signs in tourist attractions in Thailand. ASIA journal, 12(1), 95-121. http://www.asiajournal.ru.ac.th/pdfjs/web/viewer.html?file=http://www.asiajournal.ru.ac.th/journals/1580367435_a4.pdf

Park, K., J., & Nakano, M. (2003). Interlanguage and its role in English education: in cross-cultural distance learning and language acquisition (n.d.). Hankook Publishing Company.

Rhekhalilit, K. (n.d.). Unit 1 intelligibility [Paper presentation]. The English and Globalization course, Kasetsart University, Thailand.

Smalley, W., A. (1994). Linguistic diversity and national unity: Language ecology in Thailand (n.d.). University of Chicago Press.

Thaipost. (2022, November). Kho a phai phitphlat “ko tho pho” chaeng kae khai pai APEC 2022 sakot phit laeo. (in Thai) [EXAT Apologizes for Mispelled APEC 2022 Sign]. Thaipost. Retrieved February 9, 2024, from https://www.thaipost.net/general-news/263245/

Thairath. (2017, March). Rong sue pai bok sathan thong thiao ‘doi phatang-wiangkaen’ khian phit won hai kae. (in Thai) [Locals Appeal Media as Their 'Doi Phatung - Wiangkaen' Tourist Sites Signs Mispelled]. Thairath. Retrieved February 9, 2024, from https://www.thairath.co.th/news/local/873321

Thairath. (2017, September). Chao wiang kaen rong sue pai bok thang khian phit klua khon sap son khwam mai plian. (in Thai) [Wiangkaen Residents Plead Media as Their Direction Signs Baffles]. Thairath. Retrieved February 9, 2024, from https://www.thairath.co.th/news/local/north/1059430

Talbot, D. (2023, December). How many people speak English. Wordsrated. Retrieved February 9, 2024, from https://wordsrated.com/how-many-people-speak-english

Wang, Y., H. (2022, December). Low English proficiency in Thailand could hinder the country’s development prospects. Thailand Business News. Retrieved February 22, 2024, from https://www.thailand-business-news.com/business/94596-low-english-proficiency-in-thailand-could-hinder-the-countrys-development-prospects

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-01-13

How to Cite

กองแก้ว ศ., & เลิศไพศาลวงศ์ ศ. (2025). การสำรวจความผิดพลาดของป้ายสาธารณะและความเข้าใจของชาวต่างชาติที่มีต่อป้ายย่านธุรกิจในกรุงเทพฯ: กรณีศึกษาพื้นที่บริเวณสาทรและสุขุมวิท. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 17(1), 281659. https://doi.org/10.14456/jlapsu.2025.1