ประสิทธิผลของการใช้บันทึกไวยากรณ์และการให้ข้อมูลย้อนกลับในการพัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์สำหรับการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ผู้แต่ง

  • พัชพรรณ สาคันลัย
  • พนิดา สุขศรีเมือง

DOI:

https://doi.org/10.14456/jlapsu.2021.7

คำสำคัญ:

ประสิทธิผลการใช้บันทึกไวยากรณ์, การเขียน, ความสามารถด้านไวยากรณ์, บันทึกไวยากรณ์, การให้ข้อมูลย้อนกลับ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ การศึกษาประสิทธิผลของการใช้บันทึกไวยากรณ์และการให้ข้อมูลย้อนกลับในการพัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์สำหรับการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนคลองท่อมราษฎร์รังสรรค์ จังหวัดกระบี่ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง นักเรียน จำนวน 30 คน และใช้เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบทดสอบวัดทักษะการเขียนงานเขียน แบบบันทึกไวยากรณ์ แบบสอบถาม และสื่อการสอน ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถด้านไวยากรณ์เพื่อการเขียนของนักเรียนก่อนการใช้บันทึกไวยากรณ์
มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ หลังจากที่นักเรียนมีการใช้บันทึกไวยากรณ์จากที่นักเรียนได้รับข้อมูลย้อนกลับ พบว่านักเรียนสามารถแก้ไขและพร้อมอธิบายได้นอกจากนี้นักเรียนยังมีความคิดเห็นในเชิงบวกต่อการใช้แบบบันทึกไวยากรณ์ในการพัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์เพื่อการเขียน ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าแบบบันทึกไวยากรณ์พร้อมข้อมูลย้อนกลับนั้นมีประโยชน์สำหรับทักษะการเขียน อย่างไรก็ตามจากงานวิจัยพบว่านักเรียนที่มีความสามารถทางด้านภาษาน้อยอาจมีความจำเป็นต้องเพิ่มเวลาในการบันทึกแบบบันทึกไวยากรณ์และทำแบบฝึกทักษะการเขียนให้สำเร็จ

References

Al-Sobhi, B. M. S., Rashid, S. M., Abdullah, A. N., & Darmi, R. (2017). Arab ESL secondary school students’ spelling errors. International Journal of Education and Literacy Studies, 5(3), 16-23.

Bitchener, J., & Knoch, U. (2009). The relative effectiveness of different types of direct written corrective feedback. System, 37, 322-329.

Bitchener, J., & Knoch, U. (2010). The contribution of written corrective feedback to language development:

A ten-month investigation. Applied Linguistics, 31, 193- 214.

Nonkukhetkhong, K. (2013). Grammar error analysis of the first year English major students, Udon Thani Rajabhat University [Official conference proceedings]. The Asian Conference on Language Learning 2013, Japan. http://papers.iafor.org/wp-content/uploads/papers/acll2013/ACLL2013_0068.pdf

Ellis, R. (2008). The study of second language acquisition (2nd ed.). Oxford University Press.

Hirsche, R. (2011). A qualitative study in grammar logs. International Journal of Pedagogies and Learning, 6(2), 126-139. https://www.researchgate.net/profile/Rob_Hirschel/publication/271152961_A_qualitative_study_in_grammar_logs/links/

Kamimura, T. (2006). Effects of peer feedback on EFL student writers at different levels of English proficiency: A Japanese context. TESL Canada Journal, 23, 12-39.

Kaweera, C. & Usaha, S. (2008). The impact of different types of teacher written feedback on EFL university students’ writing. KKU Research Journal, 8(2), 83-94.

Liu, Y. (2008). The effects of error feedback in second language writing. Arizona Working Papers in SLA & Teaching, 15(1), 65-79. http://www.w3.coh.arizona/edu/awp/

Lush, B. (2002). Writing errors: A case study of Thai students’ writing errors. Thai TESOL BULLEIN, 15(1). 75-82.

Lyster, R., & Ranta, L. (1997). Corrective feedback and learner uptake. Studies in Second Language Acquisition, 19(1), 37-66.

Pica, T. (1984). Methods of morpheme quantification: Their effect on interpretation of second language data. Studies in Second Language Acquisition, 6, 69-78.

Richard, C.J., & Renandya, A.W. (2002). Methodology in language teaching. Cambridge University Press.

Strijbos, J.W., & Sluijsmans, D. (2010). Unravelling peer assessment: Methodological, functional and conceptual developments. Learning and Instruction, 20, 265-269.

Weinburgh, M. H. (2000). Gender, ethnicity, and grade level as predictors of middle school students’ attitudes toward science. ERIC. https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED442662.pdf

Wiriyachitra, A. (2001). A Thai university English scenario in the coming decade. ThaiTESOL, 14 (1), 4-7.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-21

How to Cite

สาคันลัย พ., & สุขศรีเมือง พ. (2021). ประสิทธิผลของการใช้บันทึกไวยากรณ์และการให้ข้อมูลย้อนกลับในการพัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์สำหรับการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 13(2), 144–169. https://doi.org/10.14456/jlapsu.2021.7