ถอดรหัสเส้นทางสู่ฮัน-รยู 4.0

ผู้แต่ง

  • ไพบูลย์ ปีตะเสน สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย
  • จิราพร จันจุฬา สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ประเทศไทย

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมเอเชียตะวันออก, ฮัน-รยู, วัฒนธรรมเกาหลี, กระแสเกาหลี, พลังอำนาจอ่อน

บทคัดย่อ

         บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นกำเนิด ประวัติความเป็นมาของฮัน-รยู หรือKorean wave หรือกระแสเกาหลี ตั้งแต่ฮัน-รยู 1.0 จนถึง ฮัน-รยู 4.0 แนวโน้มและมุมมองใหม่เกี่ยวกับกระแสฮัน-รยูนี้ ฮัน-รยูเป็นกรณีศึกษารายแรกที่แพร่กระจายวัฒนธรรมสมัยนิยมผ่านทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และเป็นบทเรียนที่ดีที่แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของอุตสาหกรรมด้านวัฒนธรรมของสาธารณรัฐเกาหลีหรือเกาหลีใต้ ทั้งนี้ “ฮัน-รยู” สามารถแบ่งตามเกณฑ์การส่งออกไปต่างประเทศได้เป็น 4 ระยะ ได้แก่ ฮัน-รยู 1.0 (K-drama) ฮัน-รยู 2.0 (K-pop music) ฮัน-รยู 3.0 (K-culture) และฮัน-รยู 4.0  (K-style) และเพื่อความสำเร็จในระยะยาวและความยั่งยืน ฮัน-รยูควรจะมุ่งเน้นสร้าง “เสน่ห์ดึงดูด” และ “เครือข่ายวัฒนธรรม” ที่มุ่งเน้นองค์ความรู้ทั่วเอเชีย

References

Ganjanapan, A. (2008). Multicultural in the context of social and culture transaction. Proceedings of the Nationalism and Multicultural Conference. Chiang Mai Universtiy. 217-294. [In Thai]

Han, K. (2010, October 1). The future of Hallyu. Korea Joongang Daily, F6. [In Korean]

Joo et al. (2012). The cultural DNA of Koreans. Amor Mundi Publishers. [In Korean]

Jung, H., & Lee, G. (2010). The influence of Neo-Hallyu on revisit Intention among Japanese and Chinese visitors to Korea. The Tourism Science Society of Korea, 34(6), 249-270. [In Korean]

Kim, B. (2015). Colonial modernity and tourism in East Asia. Humanities & Social Sciences Reviews, 3(1), 37-38. [In Korean]

Kim, B. (2015). Past, present and future of Hallyu (Korean wave). American International Journal of Contemporary Research, 5(5), 154-160. [In Korean]

Kim, S. (2007). The attractiveness of Hallyu and East Asian cultural network. Journal of World Politics, 28(1), 208-212. [In Korean]

Lee, T. (2005). The future of East-Asia: Beyond the historical conflicts. Journal of Korean Culture Research, 35, 322-232. [In Korean]

Petasen, P. (2005). Dae Jang-geum. Siam Inter Books. [In Thai]

Panyapa, R. (2013). The Korean wave and value creation in culture-based entertainment business: The lesson for entertainment business in Thailand. Humanities and Social Sciences Journal, Ubon Ratchatani Rajabhat University, 4(2), 23-38. [In Thai]

Sukchoo, S. (2006). Hallyu: Korean wave for stability. Positioning, 21, 60-61. [In Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-29

How to Cite

ปีตะเสน ไ., & janjula, jiraporn. (2020). ถอดรหัสเส้นทางสู่ฮัน-รยู 4.0. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 12(2), 1–17. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-la/article/view/183650