ปัจจัยที่ส่งผลต่อการถูกเพิกถอนของบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
คำสำคัญ:
การถูกเพิกถอน , ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย , บริษัทจดทะเบียนบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการถูกเพิกถอนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประชากรคือบริษัทที่ถูกเพิกถอนในช่วงปี พ.ศ. 2562-2566 จำนวน 53 บริษัท และกลุ่มตัวอย่างคือบริษัทที่ถูกเพิกถอน จำนวน 20 บริษัท โดยเก็บข้อมูลย้อนหลัง 2 ปีก่อนถูกเพิกถอน รวมเป็นจำนวน 40 ข้อมูลบริษัท และใช้การวิเคราะห์ปัจจัยในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อการถูกเพิกถอนได้แก่ ปัจจัยด้านผลตอบแทน ประกอบด้วย อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ROE) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) และอัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ (TAT) และปัจจัยด้านสภาพคล่อง ประกอบด้วยอัตราส่วนสภาพคล่อง (CR) ซึ่งสามารถอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรได้ร้อยละ 82.34 โดยผ่านการทดสอบด้วย Kaiser-Meyer-Olkin เท่ากับ 0.58 ณ ระดับนัยสำคัญที่ 0.01
References
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2559). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Windows (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: สามลดา.
ชลธิชา กระจายลม. (2563). สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าทางการเงิน กรณีศึกษาบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2551). อ่านงบการเงินอย่างไรให้ได้ประโยชน์. กรุงเทพฯ: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2559). คู่มือ (Manual Guides) SETSMART. กรุงเทพฯ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2563ก). หุ้น. สืบค้น 13 มีนาคม 2567, จาก https://www.setinvestnow.com/th/stock
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2563ข). อนุพันธ์. สืบค้น 13 มีนาคม 2567, จาก https://www.setinvestnow.com/th/derivative
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2563ค). กองทุนรวม. สืบค้น 13 มีนาคม 2567, จาก https://www.setinvestnow.com/th/mutualfund
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2563ง). DW. สืบค้น 13 มีนาคม 2567, จาก https://www.setinvestnow.com/th/dw
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2563จ). ตราสารหนี้. สืบค้น 13 มีนาคม 2567, จาก https://www.setinvestnow.com/th/bond
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2563ฉ). การเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน. สืบค้น 7 เมษายน 2567, จาก https://www.setinvestnow.com/th/glossary/delisting
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2565ก). ความเป็นมาและบทบาท. สืบค้น 13 มีนาคม 2567, จาก https://www.set.or.th/th/about/overview/journey
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2565ข). วิสัยทัศน์และพันธกิจ. สืบค้น 13 มีนาคม 2567, จาก https://www.set.or.th/th/about/overview/vision-mission
เปรมารัช วิลาลัย. (2564). โอกาสในการล้มเหลวทางการเงิน กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยที่ถูกเพิกถอน. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 8(1), 162-173.
วิชชกานต์ เมธาวิริยะกุล, ปานฉัตร อาการักษ์ และวัฒนา ยืนยง. (2560). ตัวแบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าทางการเงิน: การเปรียบเทียบระหว่างวิธีการถดถอยโลจิสติคและโครงข่ายประสาทเทียมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 13(39), 36-57.
อรรถพงศ์ พีระเชื้อ. (2561). ตัวแบบพยากรณ์บริษัทจดทะเบียนที่อาจถูกเพิกถอนจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารการจัดการ, 7(2), 8–22.
อริสรา ธานีรณานนท์. (2563). การวิเคราะห์การจัดการกำไร กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ถูกเพิกถอน. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ, 8(3), 67-77.
Nurfadillah, P.S., & Yulianti, E. (2024). Accuracy Analysis of the Financial Distress Prediction Model Using Altman Z-Score, Springate, Zmijewski And Grover in the Oil, Gas and Geothermal Mining Subsectors Listed on the Indonesian Stock Exchange (BEI). Jurnal Ekonomi, 13(1), 2202-2215.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บทความที่ลงพิมพ์ใน วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ถือว่าเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน คณะบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง